Page 14 - 46-1
P. 14

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           6                                              จิิตวิิทยาของการมีีอิทธิิพลทางสัังคมีโดยรอเบิิร์ต บิี. ชาลดีนีี


           ทั�วไปว่าบุคคลัที�ปฏิิบัต่ิต่่อิเราอิย่างไร ก็สัมีควรจะไดี้รับการปฏิิบัต่ิต่อิบในลัักษณะเดีียวกัน ข้้อินี�

           ก็เกิดีข้ึ�นแลั้ว คือิแนวโน้มีในการปฏิิบัต่ิต่อิบในทำานอิงเดีียวกัน ประการที� ๒ คือิ การมีีแนีวิโนี้มีที�จิะ

           ยอมีให้ (concession) แก่คนที�ยอิมีให้แก่เรามีาก่อินแลั้ว ข้้อินี�ทำาให้ชาลัดีีนีแลัะผูู้ช่วยวิจัยเห็นว่า
           ลัูกเสัือิไดี้ทำาสัิ�งนี�แลั้ว คือิการยอิมีลัดีข้้อิเสันอิจากการข้ายบัต่รชมีลัะครสััต่ว์ใบลัะ ๕ เหรียญ มีาเป็น
           ข้ายช็อิกโกแลัต่แท่งลัะ ๑ เหรียญแทน ดีังนั�น ถุ้าจะอิยู่กับกฎีเรื�อิงการยอิมีให้แก่คนที�ยอิมีให้เรามีาก่อิน

           จึงต่้อิงมีีการยอิมีให้ในสั่วนข้อิงชาลัดีีนีเอิง

                    ดีังนั�น ชาลัดีีนีแลัะคณะ (Cialdini et al., 1975) จึงอิอิกแบบการวิจัยเชิงทดีลัอิงเพื�อิทดีสัอิบ
           ความีคิดีข้้างต่้น แลั้วต่ั�งชื�อิแนวคิดีนี�ว่า เทคนีิคการขอมีากก�อนีแล้วิขอนี้อยทีหลัง (the door-in-
           the-face technique)  ชาลัดีีนีเรียกเทคนิคนี�อิีกชื�อิหนึ�งว่า “ปฏิิเสัธิแล้วิล�าถอย” (rejection-
                                ๔
           then-retreat) คณะนักวิจัยจัดีการทดีลัอิงเป็น ๓ เงื�อินไข้

                    เงื�อินไข้ที� ๑ เรียกว่า เงื�อินไข้ข้อิมีากก่อินแลั้วข้อิน้อิยทีหลััง ให้ผูู้ช่วยวิจัยสัอิบถุามีนักศึกษา
           ว่า ศูนย์ให้คำาปรึกษาวัยรุ่นกำาลัังรับสัมีัครอิาสัาสัมีัครไปทำาหน้าที�เป็นพี�เลัี�ยงให้กับเยาวชนสััปดีาห์ลัะ
           ๒ ชั�วโมีง เป็นเวลัาอิย่างน้อิย ๒ ปี ซึ�งนักศึกษาปฏิิเสัธิ จากนั�นผูู้ช่วยวิจัยก็ถุามีให้ช่วยอิีกโครงการ คือิ

           นำากลัุ่มีเดี็กจากศูนย์กักกันเยาวชนไปเที�ยวสัวนสััต่ว์ เป็นเวลัาประมีาณ ๒ ชั�วโมีง ในบ่ายหรือิเย็นวันหนึ�ง

                    เงื�อินไข้ที� ๒ เรียกว่า เงื�อินไข้ควบคุมี-ข้อิน้อิย ให้ผูู้ช่วยวิจัยสัอิบถุามีนักศึกษาว่าศูนย์ให้
           คำาปรึกษาวัยรุ่นกำาลัังรับสัมีัครอิาสัาสัมีัครนำากลัุ่มีเดี็กจากศูนย์กักกันเยาวชนไปเที�ยวสัวนสััต่ว์ เป็นเวลัา
           ประมีาณ ๒ ชั�วโมีง ในบ่ายหรือิเย็นวันหนึ�ง

                    เงื�อินไข้ที� ๓ เรียกว่า เงื�อินไข้ควบคุมี-บอิกทั�งข้อิมีากแลัะข้อิน้อิย ให้ผูู้ช่วยวิจัยบอิกนักศึกษาว่า

           ศูนย์กักกันเยาวชนรับสัมีัครอิาสัาสัมีัครให้กับโครงการ ๒ โครงการ จากนั�นก็อิธิิบายโครงการข้อิมีาก
           ให้ฟัง ต่ามีดี้วยโครงการข้อิน้อิย จบดี้วยการให้นักศึกษาเลัือิกว่าจะอิาสัาสัมีัครกับโครงการใดี
                    ผูลัการวิจัยปรากฏิว่านักศึกษาอิาสัาสัมีัครในแต่่ลัะเงื�อินไข้ดีังนี� เงื�อินไข้ที� ๑ ร้อิยลัะ ๕๐

           เงื�อินไข้ที� ๓ ร้อิยลัะ ๒๕ เงื�อินไข้ที� ๒ ร้อิยลัะ ๑๖.๗  ชาลัดีีนีแลัะคณะ (Cialdini et al., 1975) อิธิิบาย

           ผูลัการวิจัยนี�ดี้วยแนวคิดีการยอิมีถุอิยคนลัะก้าว (reciprocal concession) กลั่าวคือิ เมีื�อินักศึกษา





           ๔   เนื�อิงจากเทคนิคการข้อิมีากก่อินแลั้วข้อิน้อิยทีหลััง เกิดีข้ึ�นหลัังเทคนิคการข้อิน้อิยก่อินแลั้วข้อิมีากทีหลัังที�จะนำาเสันอิต่่อิไป การต่ั�งชื�อิ
             จึงเหมีือินกับต่ั�งเพื�อิลั้อิเลัียน “the foot-in-the-door technique” ข้ณะที�เหตุ่ผูลัอิีกสั่วนหนึ�งมีาจากการอิุปมีาจากการที�พนักงาน
             ข้ายข้อิงต่ามีบ้าน ไปเสันอิข้ายข้อิงราคาแพงแลั้วถุูกลัูกค้าปิดีประตู่บ้านใสั่หน้า (door-in-the-face) จึงเสันอิข้ายข้อิงที�ราคาถุูกกว่า
             จนลัูกค้าหลัายคนปฏิิเสัธิไมี่ไดี้อิีก
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19