Page 231 - 45 2
P. 231

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                         ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๒  พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๓
             ศาสตราจารย์์ ดร.ณััชชา พัันธุ์์์เจริญ                                           221


             ตะวันตกลงตัวชัด้เจน การเรียบเรียงเสียงป็ระสานเป็็นศัาสตร์ที�มีการเรียนการสอนในหัลักส่ตรด้นตรี

             ทั�วโลกและมีเน่�อหัาไม�แตกต�างกัน เป็็นเสียงป็ระสานในระบบอิงกุญแจเสียง (tonality) มีกุญแจเสียง

             ทอนิกเป็็นหัลัก เป็็นระบบการป็ระสานเสียงในระบบเรียงเสียง (diatonic) โด้ยมีการด้ำาเนินคอร์ด้

             (chord progression) ที�เหัมาะสม จากคอร์ด้หัน่�งไป็ยังอีกคอร์ด้หัน่�ง อันเป็็นโครงสร้างด้้านเสียง

             ป็ระสานที�สนับสนุนเสียงรวมทั�งในแนวตั�งและแนวนอน  นอกจากนี�ยังมีระบบคร่�งเสียง (chromaticism)
             ซั่�งสามารถึนำาโน้ตที�อย่�นอกกุญแจเสียงมาใช้ได้้ตามกฎเกณ์ฑิ์เสียงป็ระสาน

                     เสียงป็ระสานในระบบอิงกุญแจเสียงเป็็นไวยากรณ์์หัลักด้้านเสียงป็ระสานของด้นตรี

             คลาสสิกที�พัฒนาลงตัวแล้วตั�งแต�ยุคบาโรก (Baroque Period, ค.ศั. ๑๖๐๐-๑๗๕๐) จนถึ่งยุคโรแมนติก
             (Romantic Period, ค.ศั. ๑๘๓๐-๑๙๐๐) เป็็นเวลาป็ระมาณ์ ๓๐๐ ป็ี และเป็็นเสียงป็ระสานหัลัก

             ในด้นตรีป็ระเภทอ่�นด้้วย ในคริสต์ศัตวรรษ์ที� ๒๐ ด้นตรีคลาสสิกที�ป็ระพันธ์โด้ยคีตกวีบางกลุ�มได้้

             ออกจากระบบด้ังกล�าวเพ่�อแสวงหัาแนวทางใหัม� ๆ ในการป็ระพันธ์เพลง แต�ในที�สุด้ก็กลับมาหัาด้นตรี

             ในระบบอิงกุญแจเสียงแต�อาจป็รับหัร่อพัฒนาวิธีการตลอด้จนแนวความคิด้ที�เป็็นป็ัจเจกของคีตกวี

             แต�ละคน ป็ัจจุบันด้นตรีในระบบอิงกุญแจเสียงก็ยังมีอิทธิพลเหัน่อระบบอ่�น



             พร์ะร์าชนิยมในพร์ะบาทสมเด็จพร์ะมงก์ฎเกล้าเจ้าอย่�หัว

                     การนำาเพลงไทยมาเรียบเรียงด้้วยเสียงป็ระสานตะวันตกและนำาเสนอด้้วยเป็ียโนซั่�งจัด้เป็็น
             เคร่�องด้นตรีสากล ถึ่อกำาเนิด้มาตั�งแต�รัชสมัยพระบาทสมเด้็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่�หััว ด้้วยเป็็น

             พระราชนิยม โป็รด้เกล้าฯ ใหั้พระสุจริตสุด้าก�อตั�งวงด้นตรีหัญิงล้วน ช่�อวงนารีศัรีสุมิตร ซั่�งเป็็นวง

             เคร่�องสายผู้สมเป็ียโน โด้ยคร่สุมิตรา สุจริตกุล เป็็นหััวหัน้าวงและเป็็นนักเป็ียโนของวงนารีศัรีสุมิตร

             ได้้จัด้ใหั้มีการบรรเลงถึวายเป็็นป็ระจำาที�พระราชวังพญาไท การแสด้งมีทั�งการเด้ี�ยวเป็ียโนเพลงไทย

             และการบรรเลงของวงเคร่�องสายผู้สมเป็ียโน โด้ยที�พระบาทสมเด้็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่�หััวมี
             พระราชวินิจฉััยและพระราชทานคำาแนะนำาอย่�เสมอ ทั�งเร่�องเทคนิคการบรรเลงเป็ียโนและทางด้นตรี

             วงเคร่�องสายไทยที�มีเคร่�องด้นตรีสากลร�วมบรรเลงผู้สม ไม�ว�าจะเป็็นเป็ียโน ไวโอลิน หัร่อหัีบเพลงชัก

             (accordion) เป็็นที�นิยมส่บต�อมาหัลายสิบป็ี
   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235   236