Page 77 - Journal451
P. 77
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓
ศาสตราจารย์์ ดร.ภััทรพร สิริกาญจน 65
เที่่�ยงธรรมหรือคืวามยุติธรรม กล่าวคืือ ๑) หลักการข้อแรก บุคืคืลแต่ละคืน้ต้องได้รับสำิที่ธิเที่่าเที่่ยมกัน้
ใน้การม่เสำร่ภิาพื่ขั�น้พื่ื�น้ฐาน้ซึ่่�งได้แก่ เสำร่ภิาพื่ใน้การคืิด เสำร่ภิาพื่ใน้การรวมกลุ่ม เสำร่ภิาพื่ใน้การ
เคืลื�อน้ไหว (ที่างสำังคืมและที่างการเมือง) และเสำร่ภิาพื่ใน้การม่สำ่วน้ร่วมที่างการเมือง ที่ั�งน้่� หมายถ่ง
ใน้ระดับที่่�จัะไม่กระที่บกระเที่ือน้ต่อการใชุ้สำิที่ธิของผู้้้อื�น้ ๒) หลักการข้อที่่� ๒ คืือ การยอมให้ม่คืวาม
เหลื�อมลำ�าหรือคืวามไม่เที่่าเที่่ยมกัน้ (inequality) ได้ก็ต่อเมื�อคืวามไม่เที่่าเที่่ยมน้ั�น้อาจัก่อให้เกิด
ผู้ลประโยชุน้์อย่างมหาศัาลต่อผู้้้ด้อยโอกาสำมากที่่�สำุดและคืวามไม่เที่่าเที่่ยมกัน้ดังกล่าวเกิดข่�น้จัาก
เงื�อน้ไขต่าง ๆ ที่่�ทีุ่กคืน้ล้วน้ประสำบได้เชุ่น้เด่ยวกัน้ (Calhoun, 2002 : 401)
หลักการแรกเป็น้แกน้แน้วคืิดแบบเสำร่น้ิยมของรอลสำ์ กล่าวคืือ เสำร่ภิาพื่ของปัจัเจักบุคืคืล
ม่คืวามสำำาคืัญมากกว่าคืวามกิน้ด่อย้่ด่ที่างเศัรษฐกิจัและไม่คืำาน้่งถ่งคืวามเป็น้ปึกแผู้่น้ของสำังคืมหรือ
คืวามมุ่งหมายของสำ่วน้รวม สำ่วน้หลักการข้อที่่� ๒ ม่ลักษณะเน้้น้คืวามเสำมอภิาคื ทีุ่กคืน้ม่ฐาน้ะเที่่าเที่่ยมกัน้
เชุ่น้ ม่ฐาน้ะที่างการเงิน้และม่โอกาสำที่างสำังคืมเที่่าเที่่ยมกัน้ ซึ่่�งสำอดคืล้องกับร้ปแบบการปกคืรองแบบ
สำังคืมน้ิยมแน้วประชุาธิปไตย (democratic socialism) ที่่�รอลสำ์สำน้ับสำนุ้น้
รอลสำ์ม่ที่รรศัน้ะว่า คืวามยุติธรรมม่รากฐาน้มาจัากคืวามเที่่าเที่่ยมกัน้และประกอบไปด้วย
สำิที่ธิและเสำร่ภิาพื่ ดังน้ั�น้ สำิที่ธิและเสำร่ภิาพื่ของปัจัเจักบุคืคืลจั่งม่คืุณคื่าและไม่สำามารถสำละไปเพื่ื�อ
ประโยชุน้์ของสำ่วน้รวมได้ (Rawls, 1971 : 3) ด้วยเหตุน้่� รอลสำ์จั่งไม่เห็น้ด้วยกับที่รรศัน้ะที่างปรัชุญา
แบบประโยชุน้์น้ิยม (utilitarianism)
ประโยชุน้์น้ิยมเป็น้ที่รรศัน้ะที่างจัริยศัาสำตร์ที่่�ถือเอาประโยชุน้์สำุขเป็น้เกณฑ์์ใน้การตัดสำิน้
คืวามผู้ิดถ้กชุั�วด่ กล่าวคืือ การกระที่ำาที่่�ก่อให้เกิดประโยชุน้์สำุขมากที่่�สำุดแก่คืน้จัำาน้วน้มากที่่�สำุดถือว่าเป็น้
การกระที่ำาที่่�ด่ที่่�สำุด เกณฑ์์น้่�ถือเอาผู้ลของการที่ำาด่หรือที่ำาชุั�วเป็น้ตัวตัดสำิน้ ถ้าการกระที่ำาใดให้คืวามสำุข
หรือประโยชุน้์มากที่่�สำุดแก่คืน้เป็น้จัำาน้วน้มากที่่�สำุดได้ การกระที่ำาน้ั�น้ย่อมด่ที่่�สำุด ลัที่ธิประโยชุน้์น้ิยม
ปรากฏชุัดเจัน้ใน้ต้น้คืริสำต์ศัตวรรษที่่� ๑๙ ใน้การเคืลื�อน้ไหวแบบหัวรุน้แรงที่างปรัชุญา (philosophical
radicalism) ของน้ักคืิดชุาวอังกฤษกลุ่มหน้่�ง การเคืลื�อน้ไหวคืรั�งน้่�เป็น้ไปเพื่ื�อสำน้ับสำนุ้น้ร่างพื่ระราชุบัญญัติ
การปฏิร้ปอังกฤษใน้ คื.ศั. ๑๘๓๐ ผู้้้ก่อตั�งหัวรุน้แรงที่างปรัชุญาคืือน้ักประโยชุน้์น้ิยม ชุื�อ เจัเรม่ เบน้ที่ัม
(Jeremy Bentham คื.ศั. ๑๗๔๘-๑๘๓๒) ผู้้้น้ำาคืำาว่า utilitarianism มาใชุ้เมื�อ คื.ศั. ๑๗๘๑ เน้ื�องจัาก
เขาสำน้ับสำนุ้น้ที่รรศัน้ะที่่�ว่า สำิ�งที่่�ด่ที่่�สำุดคืือคืวามสำุขใน้ปริมาณมากที่่�สำุดหรือคืวามทีุ่กข์ใน้ปริมาณน้้อย
ที่่�สำุด (Reese, 1980 : 601) รอลสำ์เห็น้ว่า ลัที่ธิประโยชุน้์น้ิยมละที่ิ�งสำิที่ธิและเสำร่ภิาพื่ขั�น้พื่ื�น้ฐาน้ของ
ปัจัเจักบุคืคืลเพื่ื�อผู้ลประโยชุน้์ของสำังคืมและไม่ถือว่าคืน้แต่ละคืน้ม่คืุณคื่าที่างจัริยธรรมเที่่าเที่่ยมกัน้
และม่คืวามแตกต่างกัน้ (Rawls, 1971 : 27) อย่างไรก็ตาม น้ักประโยชุน้์น้ิยมอ่กผู้้้หน้่�งที่่�คืิดต่างกับ