Page 70 - Journal451
P. 70

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๓
           58                                                 “การจลาจลในรัสเซีีย” จากมุุมุมุองของ “รามุจิตติ”


                    กุารกุล้ับรัสเซีียู่ของเล้นิินิแล้ะสหัายู่ในิเด็่อนิเมษายู่นิ ค.ศ. ๑๙๑๗ ค่อจุด็เปล้ี�ยู่นิของ

           สถึานิกุารณ์์ทางกุารเม่องในิรัสเซีียู่เพราะเล้นิินิได็้จัด็ทำาแผู้นิปฏิิบัติกุารจากุกุารปฏิิวัติประชาธ์ิปไตยู่

           ชนิชั�นินิายู่ทุนิไปส่�กุารปฏิิวัติสังคมนิิยู่ม ทั�งช่คำาขวัญ “สันิติภาพ ที�ด็ินิ แล้ะขนิมปัง” แล้ะ “ค่นิอำานิาจ
           ทั�งหัมด็แกุ�สภาโซีเวียู่ต” (สัญชัยู่ สุวังบุตร, ๒๕๕๓ : ๑๓) เร่�องราวด็ังกุล้�าวไม�มีในิหันิังส่อซีึ�งทำาใหั้
           ไม�เข้าใจบทบาทของสภาโซีเวียู่ตแล้ะกุารเคล้่�อนิไหัวของบอล้เชวิคที�หัาโอกุาสเคล้่�อนิไหัวทางกุารเม่อง

           เพ่�อยู่ึด็อำานิาจใหั้สภาโซีเวียู่ต

                    บทที� ๔ แล้ะ ๕ ที�เกุี�ยู่วกุับรัฐบาล้เฉพาะกุาล้ใต้กุารนิำาของเคเรนิสกุีตั�งแต�วันิที� ๒๕
           กุรกุฎาคมเป็นิต้นิมา รัฐบาล้ประกุาศจะยู่ังคงด็ำาเนิินินิโยู่บายู่สงครามเพ่�อพิทักุษ์ปิตุภ่มิแล้ะร�วมม่อ
           กุับประเทศสัมพันิธ์มิตรต�อไป หันิังส่อไม�ได็้กุล้�าวถึึงเร่�องด็ังกุล้�าวแล้ะนิำาเสนิอไม�ชัด็เจนิว�าเหัตุใด็

           เคเรนิสกุีจึงเปล้ี�ยู่นิตัวผู้่้บัญชากุารทหัารส่งสุด็จากุนิายู่พล้อะเล้็กุเซียู่์ บ่ซีิล้อฟ เป็นินิายู่พล้ล้าฟร์

           เกุออร์เกุียู่วิช คอร์นิีล้อฟ  ประเด็็นิความขัด็แยู่้งระหัว�างเคเรนิสกุีกุับคอร์นิีล้อฟที�นิำาไปส่�กุบฏิคอร์นิีล้อฟ
           แล้ะกุารที�เคเรนิสกุีขอความร�วมม่อจากุสภาโซีเวียู่ตเพ่�อปราบกุบฏิคอร์นิีล้อฟส�งผู้ล้อยู่�างไรต�อกุารที�
           พรรคบอล้เชวิคกุล้ับมีบทบาทแล้ะอิทธ์ิพล้ในิสภาโซีเวียู่ต หันิังส่อไม�ใหั้รายู่ล้ะเอียู่ด็มากุนิักุ ผู้่้อ�านิจึง

           ไม�อาจเข้าใจว�าเหัตุใด็กุบฏิคอร์นิีล้อฟจึงทำาใหั้สภาโซีเวียู่ตเปโตรกุราด็เข้มแข็งมากุขึ�นิจนิกุล้ายู่เป็นิ

           องค์กุารนิำาไปส่�กุารเข้าควบคุมสภาโซีเวียู่ตท้องถึิ�นิทั�วประเทศ  เคเรนิสกุีหัาวิธ์ีกุารแกุ้ไขอยู่�างไรแล้ะกุาร
           กุำาหันิด็กุารเปิด็ประชุมใหัญ�สภาโซีเวียู่ตสมัยู่ที� ๒ มีผู้ล้ทางกุารเม่องอยู่�างไร  ทั�งเล้นิินิซีึ�งหัล้บหันิีนิอกุ
           ประเทศมีบทบาทมากุนิ้อยู่เพียู่งใด็ต�อทิศทางกุารประชุมที�จะเกุิด็ขึ�นิ  เนิ่�อหัาที�ขาด็หัายู่ไปในิประเด็็นิ

           เหัล้�านิี�ทำาใหั้ไม�เข้าใจถึึงที�มาของกุารปฏิิวัติเด็่อนิตุล้าคม  กุารกุล้�าวสรุปเพียู่งพวกุโซีเชียู่ล้ล้ิสต์พยู่ายู่าม

           ยูุ่ยู่งแล้ะโค�นิรัฐบาล้จึงไม�กุระจ�างชัด็พอ
                    ในิบทสุด็ท้ายู่ที�เริ�มจากุหัล้ังกุบฏิคอร์นิีล้อฟ เคเรนิสกุีได็้รวบอำานิาจแล้ะด็ำาเนิินินิโยู่บายู่
           สงครามต�อไป ทั�งถึอนิตัวออกุจากุสภาโซีเวียู่ตซีึ�งทำาใหั้ฝ่ายู่มักุซีิมาล้ิสต์ไม�พอใจเขา จึงหัาทางกุำาจัด็

           กุารด็ำาเนิินิกุารด็ังกุล้�าวจึงเป็นิที�มาของช่�อบท “มักซีิมาลิสต์กำาเริบั” แต�หันิังส่อนิำาเสนิอว�าเยู่อรมนิีอยู่่�

           เบ่�องหัล้ัง เพราะต้องกุารสงบศึกุในิแนิวรบรัสเซีียู่ ในิช�วงเวล้าเด็ียู่วกุันิอิตาล้ีได็้เข้าส่�สงครามเป็นิฝ่ายู่
           สัมพันิธ์มิตรแล้ะเปิด็แนิวรบกุับกุองทัพออสเตรียู่-ฮัังกุารี เยู่อรมนิีจึงมุ�งสนิับสนิุนิใหั้ฝ่ายู่บอล้เชวิคสร้าง
           ความวุ�นิวายู่ภายู่ในิรัสเซีียู่เพ่�อเปิด็ทางใหั้ฝ่ายู่มหัาอำานิาจกุล้างโจมตีอิตาล้ี แต�ล้้มเหัล้วเพราะอังกุฤษ

           แล้ะฝรั�งเศสได็้ช�วยู่อิตาล้ีไว้ (Pipe, 1975 : 2473) สถึานิกุารณ์์สงครามตั�งแต�อิตาล้ีเข้าส่�สงครามแล้ะ

           ปัญหัากุารเม่องภายู่ในิรัสเซีียู่ที�หันิังส่อนิำาเสนิอมีไม�มากุนิักุ หันิังส่อยู่ังไม�ใหั้รายู่ล้ะเอียู่ด็ของกุารปฏิิวัติ
           เด็่อนิตุล้าคม เพราะกุล้�าวรวบยู่อด็ว�าพวกุบอล้เชวิคยู่ึด็อำานิาจได็้กุ็เริ�มกุารเจรจาขอพักุรบกุับเยู่อรมนิี
   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75