Page 168 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 168
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่ี� ๔๙ ฉบัับัที่ี� ๑ มกรีาคม-เมษายน ๒๕๖๗
158 ดนตรีีพรีรีณนา
(Franz Liszt) (ค.ศั. ๑๘๑๑-๑๘๘๖) คีตกวัีชิาวัฮัังการีีในยุคโรีแมีนติก เป็็นคีตกวัีคนแรีกที�นำเสนอรีูป็แบบของ
ซัิมีโฟนิกโพเอ็มีซั่�งเป็็นก้าวัสำคัญของการีป็รีะพันธ์เพลงสำหรีับวังดุรีิยางค์ในยุคโรีแมีนติก คีตกวัีคนสำคัญ
อีกคนหน่�งค่อ โคลด เดอบุสซัี (Claude Debussy) (ค.ศั. ๑๘๖๒-๑๙๑๘) คีตกวัีชิาวัฝรีั�งเศัสในกรีะแส
อิมีเป็รีสชิัน (Impressionism)
นอกจากซัิมีโฟนิกโพเอ็มีแล้วั ยังมีีการีกำเนิดของเทคนิคดนตรีีที�นำทำนองที�เป็็นสัญลักษณ์กลับมีา
ในท่อนต่าง ๆ เรีียกวั่า ควัามีคิดหลักคงที� หรี่อ อีเดฟิกซั์ (Idée fixe) นำโดยคีตกวัีชิาวัฝรีั�งเศัสในยุคโรีแมีนติกชิ่�อ
เฮักเตอรี์ แบรี์ลิโอส (Hector Berlioz) (ค.ศั. ๑๘๐๓-๑๘๖๙) มีีควัามีสามีารีถืในการีวัางสีสันเสียงในรีูป็แบบใหมี่
ให้กับวังดุรีิยางค์ ป็รีากฏในบทเพลงที�มีีชิ่�อเสียงที�สุดของแบรี์ลิโอส ค่อ ซัิมีโฟนีฟองตัสตีก (Symphonie
fantastique) ป็รีะพันธ์ข่�นใน ค.ศั. ๑๘๓๐ ทำนองหลักดังกล่าวัยังคงรีักษาควัามีคิดที�เป็็นนามีธรีรีมี ไมี่มีี
เรี่�องรีาวัเชิิงบรีรียายแต่อย่างใด แนวัคิดนี�เรีิ�มีมีาตั�งแต่ต้นยุคโรีแมีนติกและดำเนินต่อไป็จนถื่งต้นยุคครีิสต์-
ศัตวัรีรีษที� ๒๐
แนวัคิดที�เป็็นควัามีคิดหลักคงที�ของแบรี์ลิโอสได้พัฒนาแป็รีรีูป็ต่อมีาด้วัยเทคนิคที�เรีียกวั่า การีป็รีับ
ทำนองหลัก (Thematic Transformation) เป็็นป็รีะเภทหน่�งของการีแป็รีทำนองซั่�งรีักษาโครีงสรี้างของ
การีขยับข่�นลงของทำนองด้วัยรีะยะขั�นคู่ที�เหมี่อนกันหรี่อใกล้เคียงกัน การีป็รีับทำนองหลักป็รีากฏชิัดเจนใน
ผลงานดนตรีีบรีรีเลงของ ฟรีานซั์ ลิสต์ (Franz Liszt) (ค.ศั. ๑๘๑๑-๑๘๘๖) คีตกวัีชิาวัฮัังการีีในยุคโรีแมีนติก
เป็็นคีตกวัีคนแรีกที�นำเสนอรีูป็แบบของซัิมีโฟนิกโพเอ็มี เป็็นผู้บุกเบิกเทคนิคการีป็รีับทำนองหลักในบทเพลง
บรีรีเลงขั�นสูงหลายเพลง
ต่อมีาในอุป็รีากรีเยอรีมีัน รีิคารี์ด วัากเนอรี์ (Richard Wagner) (ค.ศั. ๑๘๑๓-๑๘๘๓) คีตกวัีชิาวั
เยอรีมีันในยุคโรีแมีนติก ป็รีากฏในละครีหรี่ออุป็รีากรี เป็็นผู้นำในการีใชิ้โมีทีฟนำ หรี่อหน่วัยทำนองย่อยเอกนำ
(Leading Motif) หรี่อไลท์โมีทีฟ (Leitmotif) เป็็นตัวัแทนของตัวัละครี บุคลิกของตัวัละครี ควัามีคิดหลัก
ของตัวัละครี นิสัยของตัวัละครี ควัามีรีู้ส่กน่กคิด สถืานที� และสถืานการีณ์ เพ่�อผูกเรี่�องรีาวัให้สอดคล้องกับ
ดนตรีี โดยไลท์โมีทีฟเป็็นทำนองสัญลักษณ์ มีีควัามีเป็็นนามีธรีรีมี
นอกจากนี�ในครีิสต์ศัตวัรีรีษที� ๑๙ ยังมีีบทเพลงลักษณะพิเศัษ (Character-piece) ซั่�งเป็็นบทเพลง
ป็รีะกอบด้วัยตอนสั�น ๆ ป็รีะมีาณ ๑๐ ตอนบรีรีเลงติดต่อกัน โดยมีีควัามีคิดเป็็นอันหน่�งอันเดียวักัน แต่ละตอน
จะมีีลักษณะเน่�อดนตรีีที�มีีเอกลักษณ์ในแต่ละตอน และเมี่�อเข้าสู่ตอนต่อไป็ก็เป็ลี�ยนลักษณะเน่�อดนตรีีที�
แตกต่างออกไป็ มีักเป็็นเพลงเดี�ยวัเป็ียโนหรี่อเดี�ยวัเครี่�องดนตรีีชินิดอ่�น เน่�อหาเบ่�องหลังเป็็นเรี่�องรีาวัหรี่อควัามี
รีู้ส่กที�บรีรียายโดยไมี่มีีเน่�อรี้อง ตัวัอย่างเชิ่น บทเพลง Kinderszenen หรี่อ Scenes from Childhood
ลำดัับัผลงานัที่ี� ๑๕ ป็รีะพันธ์ข่�นเมี่�อป็รีะมีาณ ค.ศั. ๑๘๓๘ โดย โรีเบิรี์ต ชิูมีันน์ (Robert Schumann)
(ค.ศั. ๑๘๑๐-๑๘๕๖) คีตกวัีชิาวัเยอรีมีันในยุคโรีแมีนติก ป็รีะกอบด้วัยบทเพลงสั�น ๆ ๑๓ บท บทที�รีู้จักกันดีค่อ
บทที� ๗ Träumerei หรี่อ Dreams