Page 163 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 163

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    ศาสตราจารย์์ ดร.ณััชชา  พัันธุ์์์เจริญ                                               153



                  จุุดกำเนิดของดนตรีีพรีรีณนา

                         ดนตรีีพรีรีณนาพบชิัดเจนเป็็นครีั�งแรีกในบทเพลงซิิมโฟนัีหมายเลข ๖ ในักุญแจเสียง F เมเจอร์
                  ลำดัับัผลงานัที่ี� ๖๘ หรี่อ ปัสโตราลซิิมโฟนัี (Pastoral Symphony) ของ  ลุดวัิก ฟาน เบโทเฟน (Ludwig

                  van Beethoven) (ค.ศั. ๑๗๗๐-๑๘๒๗) คีตกวัีชิาวัเยอรีมีันในยุคคลาสสิก (Classical Period ค.ศั. ๑๗๕๐-
                  ป็รีะมีาณ ๑๘๓๐) บทเพลงซัิมีโฟนีหมีายเลข ๖ ป็รีะพันธ์ข่�นรีะหวั่าง ค.ศั. ๑๘๐๒-๑๘๐๘ ออกแสดงครีั�งแรีกใน
                  เด่อนธันวัาคมี ค.ศั. ๑๘๐๘ และตีพิมีพ์บทเพลงเผยแพรี่ต่อสาธารีณะใน ค.ศั. ๑๘๐๙ ที�เมี่องไลพ์ซัิก (Leipzig)

                         เบโทเฟนเป็็นคีตกวัีที�มีีชิ่วังชิีวัิตอยู่ในยุคคลาสสิก เป็็นคีตกวัีต้นแบบของยุคคลาสสิกก็จรีิงอยู่ แต่ในขณะ
                  เดียวักันก็เป็็นบุคคลสำคัญผู้บุกเบิกแนวัคิดโรีแมีนติกของครีิสต์ศัตวัรีรีษที� ๑๙ ทั�งในแง่ของเทคนิคการีป็รีะพันธ์

                  ดนตรีีที�ทำให้เกิดเสียงดนตรีีที�ล�ำสมีัยและการีแสดงออกด้านควัามีรีู้ส่ก จ่งถื่อเป็็นคีตกวัีที�มีีหัวัก้าวัหน้าในยุคนั�น
                  เป็็นคีตกวัีคนแรีกที�รีิเรีิ�มีแนวัคิดอีกหลายป็รีะการี รีวัมีทั�งดนตรีีพรีรีณนาที�ป็รีากฏในซัิมีโฟนีหมีายเลข ๖ จ่งได้
                  ชิ่�อวั่าเป็็นผู้นำด้านควัามีคิดทางดนตรีีที�ส่งผลต่อคีตกวัีรีุ่นต่อ ๆ มีานับรี้อยป็ี

                         ซัิมีโฟนีหมีายเลข ๖ มีีควัามียาวัป็รีะมีาณ ๓๕ นาที ควัามีพิเศัษของซัิมีโฟนีบทนี�ค่อ ป็รีะกอบด้วัย
                  ๕ ท่อน ซั่�งโดยป็กติซัิมีโฟนีในยุคนั�นจะป็รีะกอบด้วัย ๔ ท่อน ควัามีพิเศัษที�โดดเด่นป็รีะการีสำคัญค่อ นอกจาก
                  จะกำหนดลีลาชิ้าเรี็วัและอารีมีณ์เพลงในแต่ละท่อนตามีธรีรีมีเนียมีแล้วั ยังมีีคำอธิบายสั�น ๆ ที�ป็รีะมีวัลภาพ

                  ธรีรีมีชิาติและสะท้อนชิีวัิตชินบทในแต่ละท่อนด้วัย อาทิ ควัามีงดงามีสดใสและควัามีมีีชิีวัิตชิีวัาของธรีรีมีชิาติ
                  ทัศันียภาพของป็่าเขาลำเนาไพรี ฉายภาพคนเลี�ยงแกะกับเสียงนกรี้อง ทั�งในยามีท้องฟ้าสดใส และในยามีที�มีี
                  พายุฝนฟ้าคะนอง ถื่อเป็็นมีิติใหมี่ในการีป็รีะพันธ์ดนตรีีป็รีะเภทบทเพลงบรีรีเลง เบโทเฟนได้กำหนดลีลาและ

                  คำอธิบายเพ่�อการีวัาดภาพตามีจินตนาการีในแต่ละท่อนดังนี�
                         I.   Allegro ma non troppo: Erwachen heiterer Empfindungen bei der Ankunft auf dem

                  Lande (Joyful feelings upon arriving in the country)
                         II.   Andante molto mosso: Szene am Bach (By the brook)
                         III.  Allegro: Lustiges Zusammensein der Landleute (Peasant merrymaking)

                         IV.  Allegro: Gewitter, Sturm (The thunderstorm)
                         V.  Allegretto: Hirtengesang. Frohe und dankbare Gefühle nach dem Sturm

                  (The shepherd’s songs after the storm)
                         ควัามีเป็็นดนตรีีพรีรีณนาในซัิมีโฟนีบทนี�อยู่ที�ชิ่�อเพลง Pastoral และชิ่�อท่อนซั่�งเป็็นคำอธิบาย
                  ภาพจินตนาการีสั�น ๆ ที�ป็รีะมีวัลภาพธรีรีมีชิาติในแต่ละท่อนไมี่ซั�ำกัน ชิ่�อเพลงและชิ่�อท่อนกำหนดโดยคีตกวัีเอง

                  อันเป็็นป็รีากฏการีณ์ใหมี่ที�ไมี่เคยมีีคีตกวัีคนใดก่อนหน้านั�นได้ทำมีาก่อน ผู้ฟังจะจินตนาการีเรี่�องรีาวัไป็ด้วัย
                  ตามีเสียงดนตรีี
                         การีกำหนดเรี่�องรีาวัในแต่ละท่อนของเบโทเฟนเป็็นเพียงภาพโดยสังเขป็ หาใชิ่แนวัทางที�ชิัดเจนในการี

                  สรี้างจินตนาการีเยี�ยงภาพยนตรี์ไมี่ ควัามีสำคัญก็ยังคงรีักษาคุณค่าทางดนตรีี ควับคู่ไป็กับการีรีักษาอารีมีณ์
                  ดนตรีีมีากกวั่าควัามีพยายามีที�จะรีะบายสีสันให้ชิัดเจนเป็็นรีูป็ธรีรีมี งานดนตรีีของเบโทเฟนยังคงมีีควัามี
                  เป็็นนามีธรีรีมีสูงด้วัยรีสนิยมีและคุณค่าทางดุรีิยางคศัิลป็์ ในแต่ละท่อนมีีสีสันเสียงและอารีมีณ์หลากหลาย

                  เพ่�อสรี้างสมีดุลด้านโครีงสรี้างให้มีีสังคีตลักษณ์ตามีแบบแผนอย่างเหมีาะสมี
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168