Page 166 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 166

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่ี� ๔๙ ฉบัับัที่ี� ๑ มกรีาคม-เมษายน ๒๕๖๗

             156                                                                             ดนตรีีพรีรีณนา



             ๒๐ บท ป็รีะพันธ์ข่�นเมี่�อ ค.ศั. ๑๘๔๐-๑๘๘๕ ใชิ้ทำนองหลักของฮัังการีี แต่ละบทเรีิ�มีด้วัยท่อนนำในจังหวัะ

             ชิ้าแล้วัตามีด้วัยจังหวัะเรี็วั ต่อมีาบทเพลงหมีายเลข ๑๔ ได้รีับการีเรีียบเรีียงใหมี่โดยใชิ้ชิ่�อวั่า Hungarian
             Fantasy for Piano and Orchestra
                    ๓.  บทเพลง Zigeunerweisen (Gypsy Airs) ลำดัับัผลงานัที่ี� ๒๐ ป็รีะพันธ์โดย ป็าโบล ซัารีาซัาเต

             (Pablo Sarasate) (ค.ศั. ๑๘๔๔-๑๙๐๘) คีตกวัีชิาวัสเป็นในยุคโรีแมีนติก ป็รีะพันธ์ข่�นเมี่�อ ค.ศั. ๑๘๗๘ บทเพลง
             นี�เป็็นเพลงเดี�ยวัไวัโอลินที�มีีสำเนียงสเป็นเด่นชิัด



             ดนตรีีพรีรีณนาในยุุคโรีแมนติก
                    หลังจากการีกำเนิดของบทเพลง Pastoral Symphony อันเป็็นดนตรีีพรีรีณนาในควัามีหมีายของ

             เบโทเฟนซั่�งยังคงรีักษาคุณค่าทางดนตรีีไวั้เหน่อควัามีหมีายอ่�นใด ควัามีพยายามีในการีอฺธิบายดนตรีีที�ตนเอง
             เป็็นผู้ป็รีะพันธ์นั�นเป็็นที�นิยมีมีากข่�นในสมีัยต่อมีาจนถื่งป็ัจจุบัน เกิดมีีศััพท์ใหมี่อีกคำหน่�งค่อ Descriptive
             Music หรี่อดนตรีีบรีรียาย แต่ไมี่ได้มีีควัามีแตกต่างด้านควัามีหมีายอย่างมีีนัยสำคัญกับคำวั่า Program

             Music ดนตรีีที�มีีคำบรีรียายหรี่อคำอธิบายทำให้ดนตรีีไมี่ได้มีีส่วันป็รีะกอบเฉพาะเสียงดนตรีีเท่านั�น แต่ผู้คน
             ต้องทำควัามีเข้าใจกับคำอธิบายด้วัยเพ่�อให้เกิดสุนทรีียรีสตามีที�คีตกวัีตั�งใจ ป็ัจจุบันคีตกวัีรี่วัมีสมีัยนิยมีเขียน

             อธิบายเพลงของตนไวั้ในสูจิบัตรีเพ่�อส่�อสารีกับผู้ฟัง
                    ดนตรีีพรีรีณนาเฟ่�องฟูอย่างยิ�งในยุคโรีแมีนติก เป็็นป็รีะเภทของดนตรีีที�ได้รีับควัามีนิยมีมีากเน่�องจาก
            เป็็นยุคที�ผลงานศัิลป็ะและดนตรีีต้องแสดงออกซั่�งอารีมีณ์ที�อาจเกินคำวั่า “พอดี” ของยุคคลาสสิก การีเชิ่�อมีโยง

            กับสิ�งที�จับต้องได้หรี่ออธิบายได้เป็็นหนทางหน่�งในการีแสดงออกถื่งอารีมีณ์หรี่อควัามีรีู้ส่กที�ท่วัมีท้น คีตกวัีใน
            ยุคโรีแมีนติกนิยมีเขียนดนตรีีพรีรีณนา โดยอาจรีะบุไวั้ที�ชิ่�อเพลงหรี่อชิ่�อท่อนด้วัยวัิธีใดวัิธีหน่�ง แต่ควัามีจรีิงจัง
            ในการีวัาดภาพที�เป็็นรีูป็ธรีรีมีก็ยังไมี่ชิัดเจนเท่ากับควัามีซัับซั้อนของดนตรีีที�ทวัีควัามียิ�งใหญ่ทั�งในเสียงดนตรีี

            และเทคนิคการีป็รีะพันธ์เพลง ตัวัอย่างดนตรีีพรีรีณนาในยุคโรีแมีนติก เชิ่น
                    ๑.  บทเพลง Pictures at an Exhibition เป็็นผลงานการีป็รีะพันธ์เพลงที�มีีควัามีสำคัญอย่างยิ�งใน
            การีอธิบายเรี่�องดนตรีีพรีรีณนา เป็็นชิุดเพลงเดี�ยวัเป็ียโน ป็รีะพันธ์โดย โมีเดสต์ มีูซัอรี์กสกี (Modest Musorgsky)

             (ค.ศั. ๑๘๓๙-๑๘๘๑) คีตกวัีชิาวัรีัสเซัียในยุคโรีแมีนติก ใชิ้สำเนียงรีัสเซัียในแบบกรีะแสชิาตินิยมี ป็รีะพันธ์ข่�น
             เมี่�อ ค.ศั. ๑๘๗๔ บรีรียายภาพวัาดแต่ละภาพของจิตรีกรีและสถืาป็นิกชิ่�อ วัิกเทอรี์ ฮัารี์ทมีันน์ (Victor Hartmann)

             (ค.ศั. ๑๘๓๔-๑๘๗๓) เหตุเกิดที�หอศัิลป็์แห่งหน่�ง เพลงแต่ละท่อนเชิ่�อมีด้วัยทำนองหลักชิ่�อ Promenade
            ซั่�งแป็ลวั่าการีเดิน หมีายถื่ง การีก้าวัเดินไป็ชิมีภาพวัาดชิิ�นต่อไป็ ผลงานชิิ�นนี�ได้รีับการีเรีียบเรีียงใหมี่สำหรีับ
            วังดุรีิยางค์โดย โมีรีิส รีาเวัล (Maurice Ravel) (ค.ศั. ๑๘๗๕-๑๙๓๗) คีตกวัีชิาวัฝรีั�งเศัสในกรีะแสอิมีเป็รีชิัน

            ฉบับที�เป็็นบทเรีียบเรีียงสำหรีับวังดุรีิยางค์เป็็นที�นิยมีในการีแสดงคอนเสิรี์ตมีากกวั่าผลงานเดี�ยวัเป็ียโนซั่�งเป็็น
            ฉบับดั�งเดิมี

                    ๒.  บทเพลง Finlandia ป็รีะพันธ์โดย ชิอง ซัิเบลิอุส (Jean Sibelius) (ค.ศั. ๑๘๖๕-๑๙๕๗)
            คีตกวัีชิาวัฟินแลนด์ในยุคโรีแมีนติกตอนป็ลายกับยุคศัตวัรีรีษที�ยี�สิบ ป็รีะพันธ์ข่�นเมี่�อ ค.ศั. ๑๘๙๙ เป็็นผลงาน
            การีป็รีะพันธ์เพลงที�สะท้อนควัามีเป็็นฟินแลนด์มีากที�สุดในรีูป็แบบของซัิมีโฟนิกโพเอ็มี ซัิเบลิอุสใชิ้สำเนียง
   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170   171