Page 54 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 54

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีทัี� ๔๘ ฉบับทัี� ๒ พฤษภาค์ม-ส่ิงหาค์ม ๒๕๖๖
                                         ลีีลีาภาษา พระราชอารมณ์์ขัันแลีะพระราชทััศนะส่่วนพระองค์์ในพระราชนิพนธ์์ชุดเส่ด็จพระราชดำเนิน
               42                    เยืือนประเทัศในอาเซีียืนในส่มเด็จพระกนิษฐาธ์ิราชเจ้า กรมส่มเด็จพระเทัพรัตนราชสุ่ดาฯ ส่ยืามบรมราชกุมารี



                      ๔.๖ สาธีารณ์รัฐสังคมืนึ่ิยมืเวียดนึ่ามื

                          พระราชนิิพนิธ์์บัันิทึกการเสด็จพระราชดำเนิินิเยืือนิสาธ์ารณรัฐสังคมนิิยืมเวัียืดนิามเรื�อง อน้ัมสยามมิตีร์
              (๒๕๓๗) นิอกจากข้อม้ลเกี�ยืวักับัประวััต่ิศาสต่ร์และสังคมเวัียืดนิามแล้วั การใช้ภาษาที�ปรากฏในิพระราชนิิพนิธ์์

              มีการทับัศัพท์ภาษาอังกฤษและภาษาเวัียืดนิามจำนิวันิมาก คำทับัศัพท์ภาษาอังกฤษ ได้แก่ คอมมิวันิิสต่์
              ไกด์ บัอมบั์ คอมมานิโด เฮัลิคอปเต่อร์ โปรแกรม บัังเกอร์ ซีิต่ี�อิเล็กทรอนิิกส์ ทรานิซีิสเต่อร์โปลิโอ เนิอสเซีอรี�

              การ์ต่้นิ เทนินิิสเฟัิร์นิ ออสต่ินิ ยื้นิิคอร์นิ คำทับัศัพท์ภาษาเวัียืดนิาม ได้แก่ เฝีอ เวัียืดมินิห์ ก้จี ดานิัง ฮัานิ เวั้
              เฮัือง มินิหม่าง ยืาลอง ไคดินิห์ เวัียืดกง ไซี่ง่อนิ และคำทับัศัพท์ภาษาจีนิ ได้แก่ ต่ั�งโอ๋ ขงจื�อ งิ�วั ฮัวังซีุ้ยื ก๋วัยืเต่ี�ยืวั

                          นิอกจากการใช้คำทับัศัพท์ภาษาต่่างประเทศแล้วั พระราชนิิพนิธ์์ อน้ัมสยามมิตีร์ มีเนิื�อหาส่วันิใหญ่่
              เกี�ยืวักับัประวััต่ิศาสต่ร์ สังคม วััฒนิธ์รรมของสาธ์ารณรัฐสังคมนิิยืมเวัียืดนิาม สอดแทรกพระราชอารมณ์ขันิ

              นิ้อยืกวั่าพระราชนิิพนิธ์์เล่มอื�นิในิกลุ่มเดียืวักันิ แต่่ปรากฏการแสดงพระราชทัศนิะที�เป็นิประโยืชนิ์ต่่อการใช้
              ชีวัิต่ของผ้้อ่านิ ในิต่อนิที�พระองค์กล่าวัถึึงคำคมคต่ิเต่ือนิใจที�สลักไวั้ในิแผ่นิหินิศิลาจารึกที�วัางบันิหลังเต่่า (หินิ)

              ข้างสระ Thien Quang Tinh ควัามวั่า “ผู้คนุมีควิามสามารถัเป็นุอาวิุธิของชาติ ถั้าผู้คนุกลั้าหาญรุ่งเร่อง
              ประเทศเข้มแข็ง ถั้าผู้คนุกลั้าหาญตกต�ำ ประเทศก็ตกต�ำ” คำคมนิี�สามารถึแปลควัามได้วั่า บัุคคลที�มีควัาม

              สามารถึนิั�นิยื่อมเป็นิกำลังส่วันิสำคัญ่ ซีึ�งเปรียืบัเสมือนิอาวัุธ์ของชาต่ิที�จะนิำพาประเทศชาต่ิเจริญ่รุ่งเรืองได้
              ถึ้าผ้้ที�มีควัามร้้ควัามสามารถึนิั�นิมีจิต่ใจและการกระทำที�กล้าหาญ่ยื่อมส่งผลให้ประเทศนิั�นิชาต่ิมีควัามสามัคคี

              และเข็มแข็ง แต่่ถึ้าเมื�อใดที�ไม่มีจิต่ใจเข็มแข็งไม่อยืากพัฒนิาประเทศชาต่ิ เมื�อนิั�นิประเทศชาต่ิยื่อมต่กอยื้่ในิ
              สภาวัะที�ต่กต่�ำ การที�พระองค์ทรงเลือกบัันิทึกคำคมนิี�และถึ่ายืทอดต่่อผ้้อ่านิชาวัไทยื เป็นิเครื�องเต่ือนิสต่ิผ้้อ่านิ

              ให้ต่ระหนิักถึึงการนิำควัามร้้ควัามสามารถึไปใช้เพื�อการพัฒนิาประเทศชาต่ิเพราะประชาชนิคือทรัพยืากร
              ที�มีคุณค่ามากที�สุดในิการพัฒนิาประเทศ



                     ๔.๗ ราช่อาณ์าจักรกัมืพั้ช่า

                          พระราชนิิพนิธ์์ เขมร์สามยก (๒๕๓๖) สมเด็จพระกนิิษฐาธ์ิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัต่นิราชสุดาฯ
              สยืามบัรมราชกุมารีทรงใช้ภาษาทางการและกึ�งทางการ ต่อนิหนิึ�งในิพระราชนิิพนิธ์์ ทรงบัรรยืายืวั่า “ควิามรู้ทาง

              ดี้านุอักษรศาสตร์ของข้าพิเจ้าไม่เพิีย์งพิอที�จะถั่าย์ทอดีออกมาเป็นุคำพิูดีที�จะบอกให้คนุอ่�นุเข้าใจไดี้” สะท้อนิควัาม
              ถึ่อมพระองค์เพราะในิควัามเป็นิจริงพระองค์คือ  นิักอักษรศาสต่ร์และนิักประวััต่ิศาสต่ร์ พระปรีชาสามารถึในิการ

              สรรคำไม่เป็นิทางการมาใช้เพื�ออธ์ิบัายืให้ผ้้อ่านิเกิดจินิต่ภาพที�ชัดเจนิ เช่นิ “ถั้าเรามองไปไกลั ๆ ทางทิศตะวิันุออก
              จะเห็นุพินุมบกแลัะเท่อกเขากุเลันุอย์ู่ลัิบ ๆ” นิอกจากนิี�พระองค์ทรงแสดงควัามร้้ทางอักษรศาสต่ร์ด้วัยืการยืก

              พระราชนิิพนิธ์์อิเหนิาของพระบัาทสมเด็จพระพุทธ์เลิศหล้านิภาลัยื ต่อนิสังคามาระต่าแต่่งถึ�ำ มาประกอบั
              เนิื�อหาที�ทรงบัันิทึกอธ์ิบัายืควัามสวัยืงามของไม้แกะสลักวั่า “ทั�งเนุ่�อนุกดีังเป็นุเห็นุประหลัาดี พิฤกษาชาติ

              เหม่อนุจะไหวิไกวิกิ�ง อันุรูปเส่อสีห์หมีกระทิง เหม่อนุจะย์่างวิางวิิ�งเวิีย์นุวินุ”
                          พระราชอารมณ์ขันิที�สอดแทรกในิพระราชนิิพนิธ์์ ยืกต่ัวัอยื่างจากในิเนิื�อเรื�องเมื�อทอดพระเนิต่ร

              รถึขนิไก่ ทรงบัรรยืายืวั่า “รถัจักรย์านุย์นุต์คันุหนุ้�งบรรทุกไก่เป็นุ ๆ มัดีเท้าห้อย์หัวิเป็นุพิวิง พิอรถัจอดีคนุขี�รถั
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59