Page 113 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 113
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา สุขพณิิชนันท์ 101
คร์บ ๑๕ ปี พ.ศ. ๒๔๘๕-๒๕๐๐ เกี�ยวกับคำว่า laboratory โดยเร์ียกว่า “สถานชันสูตร์โร์ค (laboratory)”
โดยปร์ากฏช่�อ “แผู้นกชันสูตร์” ในกองเวชวัตถุซึ่้�งขึ้้�นกับกร์มปร์ะชาภิบาลที�เปลี�ยนช่�อมาจุากกร์มพยาบาล
สมัยที�ขึ้้�นกับกร์ะทร์วงมหาดไทยในสมัยร์ัชกาลที� ๖ เม่�อ พ.ศ. ๒๔๕๙ โดยแผู้นกชันสูตร์นั�นปร์ากฏในเอกสาร์
ดังนี�
“(๕) แผู้นกชันสูตร์แลทำลายโร์ค (หร์่อปาสตุร์สภา) มีแพทย์ที�ปร์้กษาปร์ะจุำปาสตุร์สภา ๑
แพทย์ผูู้้ช่วย ๑ และผูู้้ทำการ์กิมิชาต ๒ แผู้นกนี�ทำการ์ทดลองวิธิีป้องกันและร์ักษา แลทำนาย
อาการ์โร์คโดยวิธิีเลี�ยงแลตร์วจุเช่�อโร์ค (แบกเตเร์ีย) ด้วยกล้องอัปร์มาณู และโดยวิธิีสัมผู้ัสกิมิชาต
กับสชีวกวัตถุ (ร์ีแอกชั�น) ทั�งทำการ์ปร์ะกอบกับแผู้นกเช่�อโร์คด้วย
ในร์ะหว่างที�กร์มปร์ะชาภิบาลกำลังดำเนินการ์เพ่�อให้เป็นไปตามโคร์งการ์ใหม่อยู่นั�น
ปัสตุร์สภาได้ถูกโอนไปอยู่ในสังกัดสภากาชาดไทยเม่�อเด่อนสิงหาคม ๒๔๖๐ ทำให้กร์ม
ปร์ะชาภิบาลขึ้าดเคร์่�องม่ออันสำคัญยิ�ง ค่อ ไม่มีสถานชันสูตร์โร์ค (laboratory) ขึ้องตนเอง
เพร์าะฉัะนั�น กองเวชวัตถุซึ่้�งตั�งขึ้้�นโดยร์วมแผู้นกโอสถศาลาร์ัฐบาลกับปัสตุร์สภาเขึ้้าด้วยกัน
จุ้งคงเหล่อกองโอสถศาลาตามเดิม...” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ)
ต่อมา ได้มีการ์ร์วมงานสุขึ้าภิบาลขึ้องกร์ะทร์วงนคร์บาลเขึ้้ากับกร์มปร์ะชาภิบาลขึ้องกร์ะทร์วงมหาดไทย
จุัดตั�งขึ้้�นเป็นกร์มสาธิาร์ณสุขึ้ในกร์ะทร์วงมหาดไทย เม่�อ พ.ศ. ๒๔๖๑ และร์ัชกาลที� ๖ โปร์ดเกล้าฯ ให้
กร์มหม่�นไชยนาทนเร์นทร์ อธิิบดีกร์มมหาวิทยาลัยเป็นอธิิบดีกร์มสาธิาร์ณสุขึ้พร์ะองค์แร์ก ในช่วงแร์กขึ้อง
กร์มสาธิาร์ณสุขึ้นั�น ไม่ปร์ากฏช่�อแผู้นกชันสูตร์แลทำลายโร์ค แต่มีห้องแยกธิาตุในกิจุการ์สาธิาร์ณสุขึ้ขึ้อง
กร์มแพทย์สุขึ้าภิบาลที�ทำหน้าที�ขึ้องกองชันสูตร์ทางแพทย์ ต่อมา มีการ์ปร์ับปร์ุงส่วนบร์ิหาร์ร์าชการ์ใหม่ใน
พ.ศ. ๒๔๖๙ (ในร์ัชกาลที� ๗) โดยแบ่งเป็น ๑๓ กอง ซึ่้�งได้กล่าวถ้งแผู้นกชันสูตร์โร์คในกองที�ปร์้กษา โดยมี “หน้าที�
ชันสูตร์โร์คต่าง ๆ โดยทางวิทยาศาสตร์์ ตร์วจุน้�าปร์ะปา และตร์วจุอวัยวะ เพ่�อวินิจุฉััยโร์ค” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ)
ต่อมา ก่อนตั�งกร์ะทร์วงสาธิาร์ณสุขึ้ได้แบ่งส่วนการ์บร์ิหาร์ร์าชการ์ออกเป็น ๑๕ กอง โดยมีกองชัณสูตร์โร์ค
(พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) ซึ่้�งแบ่งย่อยเป็น ๔ แผู้นก ค่อ แผู้นกกลาง แผู้นกตร์วจุวัตถุ แผู้นกตร์วจุน้�า และแผู้นก
ชีวะวัตถุ (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) (หมายเหตุ : แผู้นกสุดท้ายนี�น่าจุะทำหน้าที�ตร์วจุอวัยวะเพ่�อวินิจุฉััยโร์คที�ได้บันท้ก
ไว้ขึ้้างต้น) ต่อมา เม่�อมีการ์จุัดตั�งกร์ะทร์วงสาธิาร์ณสุขึ้แล้ว ได้มีการ์โอนกองชัณสูตร์โร์คไปอยู่ในกร์มวิทยาศาสตร์์
การ์แพทย์ ซึ่้�งตามพร์ะร์าชกฤษฎีกาจุัดวางร์ะเบียบร์าชการ์กร์มวิทยาศาสตร์์การ์แพทย์ กร์ะทร์วงสาธิาร์ณสุขึ้
พ.ศ. ๒๔๙๕ ได้กล่าวถ้งการ์ชันสูตร์ทางแพทย์ไว้ดังนี�
“การ์ชันสูตร์ทางแพทย์ โดยใช้วิชาบัคเตร์ีวิทยา พาร์าสิทวิทยา พยาธิิวิทยา เซึ่ร์ุ่มวิทยา และ
ชีวะเคมี ตร์วจุเช่�อโร์คในวัตถุต่าง ๆ เช่น เช่�อโร์คบิด เช่�อไทฟอยด์ ฯลฯ ตร์วจุหนูและ
ตัวหมัดหาเช่�อกาฬโร์ค ตร์วจุโลหิต ปัสสาวะ อุจุจุาร์ะ น้�าเหล่อง น้�าย่อยอาหาร์ น้�าไขึ้สันหลัง
และวัตถุอ่�น ตร์วจุอวัยวะที�ได้มาจุากคนตาย เพ่�อเป็นหลักนการ์วินิจุฉััยโร์คให้ถูกต้องก่อน
ดำเนินการ์ร์ักษาตามวิธิีขึ้องการ์แพทย์แผู้นปัจุจุุบัน และเพ่�อร์ะงับการ์ร์ะบาดขึ้องโร์คทางด้าน
การ์สาธิาร์ณสุขึ้” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ)