Page 109 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 109

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา  สุขพณิิชนันท์                                           97



                           มาถ้งตร์งนี� ผูู้้นิพนธิ์ก็น้กเปร์ียบเทียบกับศิร์ิร์าช เพร์าะมีหัวหน้าภาควิชาพยาธิิวิทยากับหัวหน้าภาควิชา

                    พยาธิิวิทยาคลินิกซึ่้�งเป็นพี�น้องท้องเดียวกันในช่วงเวลาเดียวกันเหม่อนอาจุาร์ย์สมศักดิ�กับอาจุาร์ย์เชวง
                    กล่าวค่อ ผูู้้นิพนธิ์เป็นหัวหน้าภาควิชาพยาธิิวิทยาคนที� ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๗) เป็นศิษย์เก่าแพทย์ศิร์ิร์าช

                    ร์ุ่น ๙๑ และพี�ชายขึ้องผูู้้นิพนธิ์ ผูู้้ช่วยศาสตร์าจุาร์ย์ นายแพทย์เสถียร์ สุขึ้พณิชนันท์ (อาจุาร์ย์เสถียร์) เป็น
                    หัวหน้าภาควิชาพยาธิิวิทยาคลินิกคนที� ๕ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๘) เป็นศิษย์เก่าแพทย์ศิร์ิร์าช ร์ุ่น ๘๖ อาจุาร์ย์

                    เสถียร์เป็นโลหิตแพทย์ก่อนหน้าที�จุะผู้ันตัวเองมาเป็นแพทย์ทางพยาธิิวิทยาคลินิก โดยสำเร์็จุการ์ฝึึกอบร์มเป็น
                    โลหิตแพทย์จุากศิร์ิร์าช เม่�อ พ.ศ. ๒๕๓๒ แล้วไปทำหน้าที�ในแผู้นกอายุร์กร์ร์ม โร์งพยาบาลวชิร์พยาบาล ถ้ง

                    พ.ศ. ๒๕๓๖ (ขึ้ณะนั�นเป็นคณะแพทยศาสตร์์ขึ้องมหาวิทยาลัยศร์ีนคร์ินทร์วิโร์ฒ) ส่วนผูู้้นิพนธิ์ฝึึกอบร์มเป็นโลหิต
                    พยาธิิแพทย์ร์ะหว่าง พ.ศ. ๒๕๓๒ ถ้ง ๒๕๓๓ ณ ภาควิชาพยาธิิวิทยา คณะแพทยศาสตร์์ มหาวิทยาลัยแวนเดอร์์

                    บิลต์ สหร์ัฐอเมร์ิกา ด้วยทุนพร์ะมร์ดกสมเด็จุพร์ะบร์มร์าชชนก ทั�งอาจุาร์ย์เชวงกับอาจุาร์ย์เสถียร์เป็นผูู้้ใส่ใจุ
                    ในพร์ะพุทธิศาสนาอย่างยิ�ง อาจุาร์ย์เชวงเขึ้ียนบทความทางพุทธิศาสนาไว้มากมาย เป็นปร์ะธิานกร์ร์มการ์

                    มูลนิธิิปร์ิญญาธิร์ร์ม เป็นกร์ร์มการ์ที�ปร์้กษาพุทธิสมาคมแห่งปร์ะเทศไทย และเปร์ียญธิร์ร์มสมาคมแห่ง
                    ปร์ะเทศไทย อีกทั�งเป็นวิทยากร์ผูู้้บร์ร์ยายธิร์ร์มปร์ะจุำหลายแห่ง (อนุสร์ณ์งานพร์ะร์าชทานเพลิงศพฯ, ๒๕๔๕)

                    ส่วนอาจุาร์ย์เสถียร์เป็นปร์ะธิานชุมนุมพุทธิธิร์ร์มศิร์ิร์าช (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๖๒) (ศิร์ิร์ัตน์ คุปติวุฒิ, ๒๕๖๕)
                    โดยก่อนหน้านี� ทำหน้าที�เป็นเลขึ้านุการ์ชุมนุมอยู่ร์่วม ๑๐ ปี นอกจุากนี� ยังเป็นวิทยากร์สอนเจุร์ิญสติวิปัสสนา

                    กร์ร์มฐานให้กับนักศ้กษาแพทย์ศิร์ิร์าชชั�นปีที� ๒ และบุคลากร์ขึ้องคณะแพทยศาสตร์์ศิร์ิร์าชพยาบาล มหาวิทยาลัย
                    มหิดล ในโคร์งการ์พัฒนาจุิตเพ่�อให้เกิดปัญญาและสันติสุขึ้มาตั�งแต่ พ.ศ. ๒๕๔๗ จุนถ้ง พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นเวลา

                    ถ้ง ๑๕ ปี
                           “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” ในความหมายหน้�ง หมายถ้ง สาขึ้าวิชาทางแพทย์ที�อาศัยการ์ส่บค้นทางห้อง

                    ปฏิบัติการ์ (laboratory investigation) ในการ์ให้ได้มาซึ่้�งผู้ลการ์ตร์วจุต่าง ๆ เพ่�อช่วยแพทย์ในการ์วินิจุฉััยโร์ค
                    ดังนั�น จุ้งมีการ์ใช้คำว่า “laboratory medicine” ซึ่้�งมีการ์บัญญัติศัพท์ว่า “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” ถ้ามอง

                    ตามความหมายที�ให้ไว้ขึ้้างต้นแล้ว การ์ส่บค้นทางห้องปฏิบัติการ์ทุกชนิดน่าจุะถูกร์วมไว้ในสาขึ้าวิชาเวชศาสตร์์
                    ชันสูตร์นี� ซึ่้�งในความเป็นจุร์ิงแล้ว จุะพบว่ามีความหลากหลายเป็นอย่างมากไม่ว่าจุะเป็นในปร์ะเทศไทยหร์่อ

                    ในต่างปร์ะเทศ ทั�งนี� ขึ้้�นอยู่กับการ์พัฒนาห้องปฏิบัติการ์ทางแพทย์ในแต่ละที� อย่างเช่นในสหร์ัฐอเมร์ิกา พยาธิิ
                    แพทย์จุะทำหน้าที�เป็นผูู้้ควบคุมดูแลงานบร์ิการ์ทางพยาธิิวิทยาทั�งหมด โดยมีหน้าที�หลัก ค่อ การ์ออกผู้ลการ์

                    ตร์วจุทางพยาธิิวิทยา แต่จุะมีนักเทคนิคการ์แพทย์ช่วยดูแลงานในห้องปฏิบัติการ์ทั�งหลายในแง่เทคนิคให้มี
                    คุณภาพมาตร์ฐานเช่�อถ่อได้ แต่ไม่ได้ร์ับผู้ิดชอบเร์่�องการ์แปลผู้ลการ์ตร์วจุอย่างพยาธิิแพทย์ อาจุจุะมีการ์ร์ายงาน

                    ผู้ลการ์นับเซึ่ลล์เม็ดเล่อดต่าง ๆ ในเล่อด การ์ร์ายงานการ์ตร์วจุพบเซึ่ลล์ต่าง ๆ ในสิ�งส่งตร์วจุ หร์่อการ์ตร์วจุ
                    ต่าง ๆ ที�มีในห้องปฏิบัติการ์นั�นในเบ่�องต้น ให้พยาธิิแพทย์ตร์วจุซึ่�ำเพ่�อย่นยันผู้ล และออกผู้ลการ์ตร์วจุทาง

                    พยาธิิวิทยาต่อไป ในกร์ณีเช่นนี� พยาธิิแพทย์มักจุะแบ่งงานออกเป็นสาขึ้าวิชาต่าง ๆ เช่น
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114