Page 115 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 115

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา  สุขพณิิชนันท์                                          103



                    การ์สอนในสาขึ้าวิชานี�อย่างมาก สอนสนุก เป็นที�ช่�นชอบขึ้องนักเร์ียนแพทย์ทั�งที�โร์งพยาบาลศิร์ิร์าช (โร์งเร์ียน

                    ร์าชแพทยาลัยและมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์์) และจุุฬาลงกร์ณ์ (ในยุคบุกเบิกโดยเป็นคณะหน้�งขึ้องมหาวิทยาลัย
                    แพทยศาสตร์์) ทั�งอาจุาร์ย์วีกูลและอาจุาร์ย์เชวงล้วนเป็นลูกศิษย์ขึ้องท่าน ท่านเป็นผูู้้บุกเบิกงานพยาธิิวิทยา

                    คลินิกสาขึ้าโลหิตวิทยา หนังส่อเวชชนิสสิต ๒๔๗๘ ได้บันท้กเกี�ยวกับท่านไว้ว่า ท่านได้ร์ับทุนมูลนิธิิร์็อคคีเฟลเลอร์์
                    ร์ะหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๔-๒๔๗๕ ไปศ้กษาดูงานพยาธิิวิทยาคลินิกและงานบร์ิการ์ห้องปฏิบัติการ์ขึ้องโร์งพยาบาล

                    (Hospital Laboratory Work) ณ สหร์ัฐอเมร์ิกา (เวชชนิสสิต, ๒๔๗๘)



                    การ์ปร์ากฏของคำ “การ์วินิจฉััยโร์ค” ในพจนานุกร์มและเอกสาร์ต่าง ๆ
                           สำหร์ับคำว่า “วินิจุฉััย” นั�น หนังส่อภาษาไทยวันละคำให้ขึ้้อมูลไว้ดังนี�


                                  “วินิจุฉััย เป็นคำมาจุากภาษาบาลีว่า วินิจฺุฉัย แปลว่า การ์ตัดสิน การ์พิจุาร์ณา
                                  ความยุติธิร์ร์ม ในภาษาไทยใช้ในความหมายว่า การ์ตัดสินชี�ขึ้าด มักใช้แก่สิ�งที�ต้อง

                                  อาศัยขึ้้อมูลหลาย ๆ อย่างในการ์ปร์ะกอบการ์พิจุาร์ณาตัดสิน เช่น คดี โร์ค เหตุการ์ณ์
                                  เร์่�องร์าว หร์่อสิ�งที�สลับซึ่ับซึ่้อน...” (กาญจุนา, ๒๕๔๘)

                    คำว่า “วินิจุฉััย” เอง แพทย์ย่มทางตุลาการ์ศาลมาใช้


                           ใน “ปร์ะกาสสำนักนายกร์ัถมนตร์ี เร์่�องบัญญัติสัพท์ฉับับที� ๓” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) ซึ่้�งให้ใช้ศัพท์แพทย์
                    ตั�งแต่วันที� ๗ มกร์าคม พ.ศ. ๒๔๘๗ ลงในร์าชกิจุจุานุเบกษา วันที� ๑ กุมภาพันธิ์ ๒๔๘๗ ตอนที� ๘ เล่ม ๖๑

                    หน้า ๑๗๔-๒๔๑ ปร์ากฏคำว่า “diagnosis” ซึ่้�งได้บัญญัติศัพท์ว่า “การ์พิเคร์าะห์โร์ค” ไว้ในหน้า ๑๙๓
                    (ร์าชกิจุจุานุเบกษา, ๒๔๘๗)

                           ขึ้้างฝึ่ายแพทย์แผู้นไทย ก็มีคำว่า “วินิจุฉััย” ปร์ากฏในช่�อว่าคัมภีร์์หร์่อตำร์าแพทย์ไทย ค่อ สมุฏฐาน
                    วินิจุฉััย และธิาตุวินิจุฉััย ดังปร์ากฏในเร์่�องแพทย์หมอ ซึ่้�งพร์ะเจุ้าบร์มวงศ์เธิอชั�น ๔ พร์ะองค์เจุ้าศร์ีเสาวภางค์

                    ได้ทร์งนิพนธิ์ไว้ในหนังส่อลัทธิิธิร์ร์มเนียมต่าง ๆ ภาคที� ๔ โดยสมุฏฐานวินิจุฉััยกล่าวถ้งสาเหตุที�มาขึ้องโร์ค
                    ส่วนธิาตุวินิจุฉััยกล่าวถ้งการ์วินิจุฉััยโร์คตามธิาตุสี�ค่อ ดิน น้�า ลม ไฟ (พร์ะองค์เจุ้าศร์ีเสาวภางค์, ๒๔๓๒)

                           ในปร์ะชุมพงศาวดาร์ ภาคที� ๓๑ จุดหมายเหตุเร์่�องมิชชันนาร์ีอเมร์ิกันเขึ้้ามาปร์ะเทศไทย มีการ์กล่าวถ้ง
                    การ์ร์ักษาโร์คขึ้องหมอบร์ัดเล แต่ไม่ปร์ากฏคำว่า “วินิจุฉััย” เลย (ปร์ะชุมพงศาวดาร์ ภาคที� ๓๑, ๒๔๙๓)

                           ในปร์ะชุมพงศาวดาร์ ภาคที� ๕๑ จุดหมายเหตุเม่�อร์ัชกาลที� ๓ สวร์ร์คตนั�น ร์ัชกาลที� ๓ โปร์ดฯ ให้บันท้ก
                    อาการ์ป่วยไขึ้้ขึ้องพร์ะองค์ปร์ะกาศให้ทร์าบทั�วกันเพ่�อให้แพทย์ทั�งหลายได้คิดอ่านช่วยเยียวยาโร์คให้

                    พร์ะองค์หาย แต่ก็ไม่มีใคร์สามาร์ถถวายการ์ร์ักษาให้ทร์งหายได้ ไม่ปร์ากฏคำว่า “วินิจุฉััย” ในจุดหมายเหตุนี�
                    (ปร์ะชุมพงศาวดาร์ ภาคที� ๕๑, ๒๔๗๒)

                           ในจุดหมายเหตุเร์่�องร์ัชกาลที� ๔ ปร์ะชวร์และสวร์ร์คต ไม่ว่าจุะเป็นฉับับเจุ้าพร์ะยามหินทร์ศักดิ�ธิำร์ง
                    หร์่อฉับับที�กร์มพร์ะยาดำร์งร์าชานุภาพทร์งเร์ียบเร์ียงไว้ ไม่ปร์ากฏคำว่า “วินิจุฉััย” แต่อย่างใด (ปร์ะชุม

                    จุดหมายเหตุ, ๒๕๐๐) ในจุดหมายเหตุขึ้องหมอบร์ัดเล ตั�งแต่วันที� ๒๓ สิงหาคม พ.ศ. ๒๓๗๑ ในร์ัชกาลที� ๓ ถ้ง
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120