Page 116 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 116
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉับัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖
104 เวชศาสตร์์ชันสูตร์-ชันสูตร์โร์ค-การ์วินิจฉััยโร์ค
วันที� ๒๕ ธิันวาคม พ.ศ. ๒๔๑๕ ต้นร์ัชกาลที� ๕ ไม่ปร์ากฏคำว่า “วินิจุฉััย” แต่อย่างใด (จุดหมายเหตุขึ้อง
หมอบร์ัดเล, ๒๔๖๒) ในพร์ะร์าชนิพนธิ์ไกลบ้าน ร์ัชกาลที� ๕ ทร์งมีพร์ะร์าชหัตถเลขึ้าเกี�ยวกับคำว่า “วินิจุฉััย”
อยู่ ๒ เหตุการ์ณ์แต่ไม่เกี�ยวขึ้้องกับการ์แพทย์เลย ในขึ้ณะที�เร์่�องร์าวต่าง ๆ เกี�ยวกับพร์ะองค์ท่านในทาง
การ์แพทย์นั�น พร์ะองค์ทร์งใช้ “ความเห็นขึ้องแพทย์” หร์่อขึ้้อความในทำนองดังกล่าวในพร์ะร์าชหัตถเลขึ้า
โดยไม่ได้ปร์ากฏคำ “วินิจุฉััยโร์ค” แต่อย่างใด (พร์ะบาทสมเด็จุพร์ะจุุลจุอมเกล้า, ๒๔๕๐)
สำหร์ับเอกสาร์ทางการ์แพทย์แผู้นปัจุจุุบันที�ควร์มีการ์ใช้คำว่า “วินิจุฉััยโร์ค” ก่อนเอกสาร์อ่�นใดนั�น
น่าจุะเป็นจุดหมายทางแพทย์ขึ้องสภากาชาดสยาม ซึ่้�งเร์ิ�มเผู้ยแพร์่ใน พ.ศ. ๒๔๖๑ เป็นต้นมาจุนถ้งปัจุจุุบันใน
ช่�อขึ้องจุดหมายเหตุทางแพทย์ แพทยสมาคมแห่งปร์ะเทศไทยในพร์ะบร์มร์าชูปถัมภ์ โดยในช่วงปีแร์ก ๆ นั�น
กำหนดออกปีละ ๓ คร์ั�ง ค่อ วันที� ๑ เมษายน (เล่ม ๑) (วันขึ้้�นปีใหม่ไทยในสมัยนั�น) วันที� ๑ สิงหาคม (เล่ม ๒)
และวันที� ๑ ธิันวาคม (เล่ม ๓) ปร์ากฏว่า ในปีแร์กนั�น ไม่มีการ์ใช้คำว่า “วินิจุฉััย” (ร์วมทั�งคำว่า “ชันสูตร์”)
เลย (จุดหมายทางแพทย์ขึ้องสภากาชาดสยาม, ๒๔๖๑) แต่ในบทความเร์่�องโร์คเร์่�อนขึ้องนายแพทย์เอ็ม
คาทิว มีตาร์างแสดง “การ์พิจุาร์ณาโร์คเร์่�อนจุากโร์คอ่�น” (แม้ไม่มีคำภาษาอังกฤษกำกับ แต่ภาษาอังกฤษทาง
แพทย์น่าจุะเป็น differential diagnosis มากที�สุด) แสดงว่าในบทความดังกล่าวใช้คำว่า “การ์พิจุาร์ณา”
แทนคำว่า “diagnosis” นอกจุากนี� ยังมีหัวขึ้้อ “การ์ตัดสินโร์คทางบัคเตร์ีวิทยา” (แม้ไม่มีคำภาษาอังกฤษกำกับ
น่าจุะเป็น diagnosis by bacteriology) ซึ่้�งคำว่า “การ์ตัดสินโร์ค” นี�น่าจุะใช้แทนคำว่า “diagnosis”
(นายแพทย์เอ็ม คาทิว, ๒๔๖๑) น่าเสียดายที�ไม่มีการ์ลงนามขึ้องผูู้้แปลบทความเป็นภาษาไทยให้นายแพทย์เอ็ม
คาทิว แต่คาดเดาได้ว่าน่าจุะเป็นบร์ร์ณาธิิการ์คนไทยคนใดคนหน้�งใน ๒ คน ค่อ นายนาวาโท หม่อมเจุ้าถาวร์
มงคลวงษ์ (พลเร์่อตร์ี นายแพทย์ หม่อมเจุ้าถาวร์มงคลวงศ์ ไชยันต์) หร์่อนายพันตร์ี หลวงศักดาพลร์ักษ์
(ศาสตร์าจุาร์ย์อุปการ์คุณ พลตร์ี พร์ะยาดำร์งแพทยาคุณ นามเดิม นายแพทย์ช่�น พุทธิิแพทย์)
คำว่า “การ์วินิจุฉััย” ปร์ากฏเป็นคร์ั�งแร์กในร์ายงานผูู้้ป่วยเร์่�อง “โร์คแปลกที�ไส้โค้ง (A rare lesion of the
duodenum” โดยนายแพทย์เอลลิส (Aller G. Ellis) และนายแพทย์กำจุร์ พลางกูร์ (พร์ะอัพภันตร์าพาธิพิศาล
ร์าชบัณฑิิต และร์าชบัณฑิิตกิตติมศักดิ� ในเวลาต่อมา) ในจุดหมายเหตุทางแพทย์แห่งสภากาชาดสยาม เล่ม ๒
เด่อนธิันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๒ หน้า ๓๕๕-๓๖๙ โดยส่วนต้นขึ้องร์ายงานเป็นภาษาอังกฤษล้วน ส่วนหลังขึ้องร์ายงาน
เป็นภาษาไทย ซึ่้�งแน่นอนว่าแปลโดยนายแพทย์กำจุร์ ซึ่้�งท่านได้ใช้คำว่า “การ์วินิจุฉััย” สำหร์ับ “diagnosis”
เป็นคร์ั�งแร์ก
หลังจุากนั�น จุดหมายทางแพทย์ขึ้องสภากาชาดสยามใน พ.ศ. ๒๔๖๓ มีความน่าสนใจุดังนี�
๑) มีบทความขึ้องหม่อมเจุ้าถาวร์มงคลวงษ์ เร์่�อง “การ์พยากร์ณ์แผู้ลร์ะยะต้นขึ้องซึ่ิฟิลิส (clinical
diagnosis of chancre)” ซึ่้�งใช้คำว่า “การ์พยากร์ณ์” แทนคำว่า “diagnosis” และมีขึ้้อความ
ในบทความนี�ที�ย่นยันการ์ใช้คำดังกล่าว (นาวาโท หม่อมเจุ้าถาวร์มงคลวงษ์, ๒๔๖๓)
๒) มีบทความเร์่�อง “โร์คทางยา” ซึ่้�งคัดจุากตำร์าโร์คทางยาขึ้องนายพันเอก พร์ะยาวิบุลอายุร์เวท
(พลตร์ี พร์ะยาวิบุลอายุร์เวท นามเดิม นายแพทย์เสขึ้ ธิร์ร์มสโร์ช) ลงตีพิมพ์ทั�ง ๓ เล่ม ตลอดทั�งปี
๒๔๖๓ ใช้คำว่า “การ์ทายโร์ค” แทนคำว่า “diagnosis” (จุดหมายทางแพทย์ขึ้องสภากาชาด
สยาม, ๒๔๖๓)