Page 117 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 117

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา  สุขพณิิชนันท์                                          105



                           ๓)  มีบทความเร์่�อง “การ์พิจุาร์ณาผู้ลขึ้องการ์ตร์วจุศพ ๑๐๐ ร์ายที�ศิร์ิร์าชพยาบาล (An analysis of

                               one hundred postmortem examinations at Siriraj Hospital)” โดยนายแพทย์อัลเลอร์์
                               เอลลิส (Aller G. Ellis) (ศาสตร์าจุาร์ย์เกียร์ติคุณ นายแพทย์อัลเลอร์์ จุี เอลลิส หร์่ออาจุาร์ย์

                               เอลลิสขึ้องชาวศิร์ิร์าช) ใช้คำว่า “ขึ้้อวินิจุฉััยโร์ค” แทนคำว่า “diagnosis” โดยมีการ์แปลขึ้้อความ
                               ที�นายแพทย์เอลลิสแสดงไว้ดังนี� “There can be no better place than the postmortem

                               table for the student to learn pathology and for the clinicians to check up his
                               diagnoses.” ว่า “กล่าวได้ว่าไม่มีหนทางอันใดสำหร์ับนักเร์ียนที�จุะหาความร์ู้ในทางพยาธิิวิทยา
                               หร์่อสำหร์ับแพทย์ที�จุะตร์วจุสอบขึ้้อวินิจุฉััยโร์คที�ดีไปกว่าการ์ผู้่าศพ” (นายแพทย์อัลเลอร์์

                               เอลลิส, ๒๔๖๓)

                           ณ จุุดนี� การ์ใช้คำว่า “ขึ้้อวินิจุฉััยโร์ค” แทนคำว่า “diagnosis” นี�ต่างจุากบทความขึ้องอาจุาร์ย์เอลลิส

                    ที�เขึ้ียนร์่วมกับนายแพทย์กำจุร์ พลางกูร์ขึ้้างต้น เป็นที�ทร์าบดีว่าอาจุาร์ย์เอลลิสพูดและเขึ้ียนภาษาไทยไม่ได้
                    ดังนั�น ต้องมีผูู้้แปลเป็นภาษาไทยให้ท่าน ผูู้้นิพนธิ์คิดว่าไม่น่าจุะใช่นายแพทย์กำจุร์ พลางกูร์ เพร์าะท่านมี

                    ภาร์กิจุมากมาย น่าจุะเป็นบร์ร์ณาธิิการ์คนใดคนหน้�งมากกว่า ซึ่้�งใน พ.ศ. ๒๔๖๓ นี� บร์ร์ณาธิิการ์ไทยขึ้องจุดหมาย
                    ทางแพทย์ขึ้องสภากาชาดสยามได้มีเพิ�มขึ้้�นจุากเดิมอีก ๑ คน ค่อ นายร์้อยเอก หม่อมเจุ้าวัลภากร์ (พันเอก
                    นายแพทย์ หม่อมเจุ้าวัลภากร์ วร์วร์ร์ณ) ซึ่้�งน่าจุะเป็นผูู้้แปลบทความนี�มากที�สุด เพร์าะบทความขึ้องหม่อมเจุ้า

                    ถาวร์มงคลวงษ์ที�แสดงไว้ขึ้้างต้นซึ่้�งลงตีพิมพ์ในปีเดียวกัน ใช้คำว่า “การ์พยากร์ณ์” แทนคำว่า “diagnosis”
                    ส่วนนายพันตร์ี หลวงศักดาพลร์ักษ์ บร์ร์ณาธิิการ์อีกคนที�ทำหน้าที�มาตั�งแต่ต้นนั�น ใน พ.ศ. ๒๔๖๓ ได้เล่�อนยศ

                    และบร์ร์ดาศักดิ�เป็นนายพันเอก พร์ะศักดาพลร์ักษ์ ซึ่้�งต่อมา ค่อ ศาสตร์าจุาร์ย์อุปการ์คุณ พลตร์ี พร์ะยาดำร์ง
                    แพทยาคุณ (ช่�น พุทธิิแพทย์) ผูู้้ร์่วมก่อตั�งและคณบดีคนแร์กขึ้องคณะแพทยศาสตร์์โร์งพยาบาลจุุฬาลงกร์ณ์

                    มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์์ ได้เขึ้ียนบทความเร์่�อง “ความเจุร์ิญขึ้องการ์แพทย์” เม่�อยังเป็นพันโท พร์ะศักดา-
                    พลร์ักษ์ ปร์ะจุำโร์งพยาบาลจุุฬาลงกร์ณ์ขึ้องสภากาชาด ใน พ.ศ. ๒๔๖๓ เพ่�อให้ความร์ู้แก่ปร์ะชาชนเกี�ยวกับ

                    การ์แพทย์สมัยใหม่ ไม่ปร์ากฏคำว่า “วินิจุฉััย” ในบทความนี�เลย (พร์ะศักดาพลร์ักษ์, ๒๔๖๓)
                           ต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๖๕ มีการ์ร์ายงานเร์่�อง “การ์บัญญัติศัพท์แพทย์” ในจุดหมายเหตุทางแพทย์ว่า
                    ที�ปร์ะชุมขึ้องแพทยะสมาคมแห่งกร์ุงสยาม ได้บัญญัติศัพท์แพทย์ขึ้้�นใช้หลายคำ และได้บัญญัติคำว่า “การ์วินิจุฉััย”

                    สำหร์ับคำว่า “diagnosis” แต่ไม่มีสำหร์ับคำว่า “laboratory” นอกจุากนี� หม่อมเจุ้าวัลภากร์ วร์วร์ร์ณ
                    ทร์งอยู่ในคณะกร์ร์มการ์บัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์์ เม่�อ พ.ศ. ๒๔๗๔ โดยขึ้ณะนั�นท่านทร์งเป็นผูู้้แทนขึ้อง

                    แพทยะสมาคม นอกจุากนี� ท่านยังทร์งทำหน้าที�เป็นบร์ร์ณาธิิการ์จุดหมายเหตุทางแพทย์เพียงผูู้้เดียวร์ะหว่าง
                    พ.ศ. ๒๔๗๒-๒๔๗๘ ท่านได้ทร์งเขึ้ียนร์ายงานสมาคมในการ์บัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์์ขึ้องคณะกร์ร์มการ์บัญญัติ

                    ศัพท์วิทยาศาสตร์์ ลงในจุดหมายเหตุทางแพทย์เป็นคร์ั�งแร์กในเด่อนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๔ อีกด้วย ซึ่้�งคณะกร์ร์มการ์
                    บัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์์ชุดนี�ได้วางร์ากฐานในการ์บัญญัติศัพท์วิทยาศาสตร์์และศัพท์แพทย์ในเวลาต่อมา

                    (สัญญา, ๒๕๕๑) หม่อมเจุ้าวัลภากร์ วร์วร์ร์ณ ทร์งทำหน้าที�เป็นผูู้้อำนวยการ์โร์งพยาบาลศิร์ิร์าชร์ะหว่าง
                    พ.ศ. ๒๔๘๗-๒๔๙๐ อีกด้วย (คณะกร์ร์มการ์จุัดทำหนังส่อ ๑๒๐ ปีศิร์ิร์าช, ๒๕๕๑)
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122