Page 108 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 108

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีีที่่� ๔๘ ฉับัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

               96                                                           เวชศาสตร์์ชันสูตร์-ชันสูตร์โร์ค-การ์วินิจฉััยโร์ค



              บทนำ

                      ผูู้้นิพนธิ์ได้ร์ับแต่งตั�งเป็นภาคีสมาชิก ร์าชบัณฑิิตยสภา สำนักวิทยาศาสตร์์ ปร์ะเภทวิชาแพทยศาสตร์์
              และทันตแพทยศาสตร์์ สาขึ้าวิชาเวชศาสตร์์ชันสูตร์ เม่�อวันที� ๑๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕ ที�ผู้่านมา สิ�งแร์กที�ผูู้้นิพนธิ์

              พยายามทำความเขึ้้าใจุกับตนเอง ค่อ ความหมายขึ้องศัพท์ต่าง ๆ ในส่วนที�เกี�ยวขึ้้องกับตัวตนในสิ�งที�ทำอยู่
              เพ่�อให้ทร์าบบทบาทหน้าที�ขึ้องตนเองที�ควร์ปฏิบัติ ที�ผู้่านมา ผูู้้นิพนธิ์ได้เขึ้ียนบทความเร์่�องปร์ะวัติความเป็นมา

              ขึ้องคำว่า “วิทยาศาสตร์์” ไปแล้ว ๑ เร์่�องให้วาร์สาร์ร์าชบัณฑิิตยสภา มาคร์ั�งนี� ผูู้้นิพนธิ์อยากร์ู้จุักคำว่า “เวชศาสตร์์
              ชันสูตร์” ให้มากขึ้้�น พบว่า มีความน่าสนใจุและเกี�ยวขึ้้องกับงานที�ปฏิบัติอยู่ในฐานะพยาธิิแพทย์กว่า ๓๖ ปี

              และโลหิตพยาธิิแพทย์ร์่วม ๓๐ ปี จุ้งได้ร์วบร์วมเขึ้ียนบทความนี�ขึ้้�น


              เวชศาสตร์์ชันสูตร์คืออะไร์และท่�มา

                      เวชศาสตร์์ชันสูตร์เป็นศัพท์บัญญัติสำหร์ับคำว่า “laboratory medicine” ผูู้้นิพนธิ์ไม่สามาร์ถส่บค้น
              หาให้ชัดเจุนได้ว่าใคร์เป็นผูู้้บัญญัติศัพท์นี� แต่ด้วยความที�มีภาควิชาเวชศาสตร์์ชันสูตร์ คณะแพทยศาสตร์์

              จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย ก่อตั�งขึ้้�นเป็นแห่งแร์กในปร์ะเทศไทย โดยมีศาสตร์าจุาร์ย์ นายแพทย์เชวง เดชะไกศยะ
              (อาจุาร์ย์เชวง) เป็นหัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์์ชันสูตร์คนแร์ก ตั�งแต่วันที� ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๕ ถ้งวันที�

              ๒๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๙ (คณะแพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐) จุ้งคิดว่าท่านน่าจุะเป็น
              ผูู้้บัญญัติศัพท์นี�

                      อาจุาร์ย์เชวงสำเร์็จุแพทยศาสตร์บัณฑิิตจุากคณะแพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย เม่�อ
              พ.ศ. ๒๔๙๖ นับเป็นศิษย์เก่าแพทย์จุุฬาฯ ร์ุ่น ๓ (คร์ร์ธิร์ส นภาวร์ร์ณ, ๒๕๒๙) ท่านมีพี�ชายเป็นแพทย์ ๑ คน ค่อ

              ศาสตร์าจุาร์ย์ นายแพทย์สมศักดิ� เดชะไกศยะ (อาจุาร์ย์สมศักดิ�) เป็นหัวหน้าภาควิชาพยาธิิวิทยา คณะ
              แพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย คนที� ๔ (พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๒) (คณะแพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์
              มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๐) อาจุาร์ย์สมศักดิ�ได้บันท้กไว้ว่า สาขึ้าวิชาเวชศาสตร์์ชันสูตร์แยกออกจุากภาควิชาพยาธิิ

              วิทยาไปตั�งเป็นภาควิชาเม่�อ พ.ศ. ๒๕๑๕ นับเป็นภาควิชาที� ๔ ที�แยกออกไปจุากภาควิชาพยาธิิวิทยา ซึ่้�งก่อน
              หน้านี�มีสาขึ้าวิชาจุุลชีววิทยา ปาร์าสิตวิทยา (ปร์สิตวิทยาในปัจุจุุบัน) และนิติเวชวิทยา (นิติเวชศาสตร์์ในปัจุจุุบัน)

              ที�แยกออกไปตั�งเป็นภาควิชา
                      อาจุาร์ย์สมศักดิ�สำเร์็จุแพทยศาสตร์บัณฑิิตจุากคณะแพทยศาสตร์์ศิร์ิร์าชและพยาบาล มหาวิทยาลัย
              แพทยศาสตร์์ เม่�อ พ.ศ. ๒๔๘๙ นับเป็นศิษย์เก่าแพทย์ศิร์ิร์าช ร์ุ่น ๕๑ ซึ่้�งเป็นร์ุ่นเดียวที�ได้ร์ับพร์ะร์าชทาน

              ปร์ิญญาบัตร์จุากพร์ะหัตถ์ขึ้องร์ัชกาลที� ๘ โดยในวันนั�น ร์ัชกาลที� ๙ ซึ่้�งเป็นสมเด็จุพร์ะอนุชาธิิร์าชได้ร์่วมเสด็จุฯ
              ปร์ะทับในมณฑิลปะร์ำพิธิี บร์ิเวณหน้าต้ก ๗๒ ปีศิร์ิร์าช ตร์งตำแหน่งอนุสาวร์ีย์สมเด็จุพร์ะบร์มร์าชชนกในปัจุจุุบัน

              อาจุาร์ย์สมศักดิ�เป็นหัวหน้าภาควิชาพยาธิิวิทยา ๑๒ ปี ได้เห็นอาจุาร์ย์เชวงผูู้้น้องเป็นหัวหน้าภาควิชาเวชศาสตร์์
              ชันสูตร์คนแร์กขึ้องคณะแพทย์จุุฬาฯ ซึ่้�งอาจุาร์ย์สมศักดิ�บันท้กไว้ว่า “ในปี ๒๕๑๕ นี�เอง แผู้นกพยาธิิวิทยา

              คลินิค (ปัจุจุุบันสะกด “พยาธิิวิทยาคลินิก”) ก็แยกออกไปเป็นแผู้นกเวชศาสตร์์ชันสูตร์” (สมศักดิ� เดชะไกศยะ,
              ๒๕๑๕)
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113