Page 118 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 118

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีีที่่� ๔๘ ฉับัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

               106                                                          เวชศาสตร์์ชันสูตร์-ชันสูตร์โร์ค-การ์วินิจฉััยโร์ค



              “เวชศาสตร์์” ไม่ได้�จำกัด้อยู่ท่� “การ์ร์ักษาโร์คด้�วยยา” อ่กต่อไป

                      พจุนานุกร์ม ฉับับร์าชบัณฑิิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความหมายขึ้องคำว่า “เวชศาสตร์์” ไว้ว่า

              “ช่�อตำร์าร์ักษาโร์คแผู้นโบร์าณ, วิชาว่าด้วยการ์ร์ักษาโร์คโดยการ์ใช้ยา” (พจุนานุกร์ม, ๒๕๕๔) และเป็นที�
              ทร์าบดีว่าใช้สำหร์ับคำว่า “medicine” ในกร์ณีที�ไม่ได้หมายความถ้ง “อายุร์ศาสตร์์” แต่ก็คงเห็นได้ชัดเจุนว่า

              ความหมายเปลี�ยนไปแล้ว ไม่ว่าจุะเป็น “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” หร์่อคำที�มี “เวชศาสตร์์” อยู่ในช่�อ ดังต่อไปนี�
              กุมาร์เวชศาสตร์์, จุิตเวชศาสตร์์, นิติเวชศาสตร์์, สหเวชศาสตร์์, อาชีวเวชศาสตร์์, เวชศาสตร์์การ์กีฬา, เวชศาสตร์์

              การ์ธินาคาร์เล่อด, เวชศาสตร์์การ์บิน, เวชศาสตร์์การ์ส่�อความหมาย, เวชศาสตร์์คร์อบคร์ัว, เวชศาสตร์์ความงาม,
              เวชศาสตร์์ความดันบร์ร์ยากาศสูง, เวชศาสตร์์ฉัุกเฉัิน, เวชศาสตร์์ชะลอวัย, เวชศาสตร์์ชุมชน, เวชศาสตร์์ทหาร์,

              เวชศาสตร์์ท่องเที�ยวและการ์เดินทาง, เวชศาสตร์์นิวเคลียร์์, เวชศาสตร์์ป้องกันและสังคม, เวชศาสตร์์ฟ้�นฟู,
              และเวชศาสตร์์ปร์ะคับปร์ะคอง



              การ์ใช�คำว่า “ชันสูตร์” ในความหมายของ “วินิจฉััยโร์ค” ในยุคปัจจุบัน

                      พจุนานุกร์ม ฉับับร์าชบัณฑิิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ให้ความหมายขึ้องคำว่า “ชันสูตร์” ไว้ว่า “ตร์วจุสอบ
              เพ่�อหาสาเหตุหร์่อหลักฐานขึ้้อเท็จุจุร์ิง เช่น ชันสูตร์บาดแผู้ล ชันสูตร์พลิกศพ, สอบสวนโดยเหตุผู้ล” และ

              ให้ความหมายขึ้องคำว่า “วินิจุฉััย” ไว้ว่า “(๑) ตัดสิน, ชี�ขึ้าด, เช่น เร์่�องนี�วินิจุฉััยได้ ๒ ทาง หร์่อ (๒) ไตร์่ตร์อง,
              ใคร์่คร์วญ, เช่น คณะกร์ร์มการ์ขึ้อเล่�อนเวลาออกไปอีกเพ่�อวินิจุฉััยปัญหาให้ร์อบคอบยิ�งขึ้้�น” (พจุนานุกร์ม,

              ๒๕๕๔) ตั�งแต่มีการ์ก่อตั�งภาควิชาเวชศาสตร์์ชันสูตร์ คณะแพทยศาสตร์์ จุุฬาลงกร์ณ์มหาวิทยาลัย ซึ่้�งใช้ช่�อ
              ภาษาอังกฤษว่า “Department of Laboratory Medicine” คำว่า “ชันสูตร์” จุะเกี�ยวขึ้้องกับห้องปฏิบัติการ์

              หร์่อห้องชันสูตร์โร์ค ดังที�ได้กล่าวแล้วในตอนต้น หร์่อที�ได้แสดงไว้โดยศาสตร์าจุาร์ย์เกียร์ติคุณ นายแพทย์ปร์ะเสร์ิฐ
              ทองเจุร์ิญ ร์าชบัณฑิิต ในบทความเร์่�อง “เวชศาสตร์์ชันสูตร์” ที�นิพนธิ์ร์่วมกับร์องศาสตร์าจุาร์ย์ แพทย์หญิง

              พิมพ์พันธิุ์  เลียงพิบูลย์ ไว้เป็นเร์่�องที� ๙ ในเล่มที� ๙ ขึ้องหนังส่อสาร์านุกร์มไทยสำหร์ับเยาวชน โดยพร์ะร์าชปร์ะสงค์
              ในพร์ะบาทสมเด็จุพร์ะชนกาธิิเบศร์ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาร์าช บร์มนาถบพิตร์ โดยได้กล่าวถ้ง “ห้อง

              ชันสูตร์โร์ค” ซึ่้�งเป็นห้องปฏิบัติการ์ทำหน้าที�ร์ับตร์วจุสิ�งส่งตร์วจุต่าง ๆ ที�ได้จุากผูู้้ป่วย ไม่ว่าจุะเป็นเล่อด ปัสสาวะ
              น้�าเหล่อง ฯลฯ มาทำการ์ศ้กษา วิเคร์าะห์หาสิ�งที�แพทย์สนใจุ เช่น ผู้ลการ์นับเม็ดเล่อด ผู้ลการ์ตร์วจุปัสสาวะ

              ผู้ลการ์ตร์วจุหน้าที�ขึ้องตับ ไต หัวใจุ ร์ะดับฮอร์์โมน ร์ะดับภูมิคุ้มกัน หร์่อสิ�งผู้ิดปร์กติต่าง ๆ ซึ่้�งคร์อบคลุมถ้ง
              เช่�อก่อโร์ค (ปร์ะเสร์ิฐและพิมพ์พันธิุ์, ๒๕๒๘)

                      แต่ก็พบว่ามีการ์ใช้คำว่า “ชันสูตร์” สำหร์ับคำว่า “diagnosis หร์่อ diagnostic” แทนคำว่า “วินิจุฉััย
              โร์ค หร์่อการ์วินิจุฉััยโร์ค” เช่น

                      -  ส่วนงานห้องปฏิบัติการ์เวชศาสตร์์ชันสูตร์ โร์งพยาบาลเวชศาสตร์์เขึ้ตร์้อน คณะเวชศาสตร์์เขึ้ตร์้อน
                        มหาวิทยาลัยมหิดล ใช้ช่�อภาษาอังกฤษว่า “Diagnostic Laboratory”

                      -  ศูนย์สุขึ้ภาพองค์ร์วมและสถานเวชศาสตร์์ชันสูตร์ คณะเทคนิคการ์แพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล
                        ใช้ช่�อภาษาอังกฤษว่า “Holistic Health and Medical Diagnostic Center”
   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122   123