Page 111 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 111

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีท่� ๔๘ ฉบัับัท่� ๒ พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๖

                      ศาสตราจารย์์ นาย์แพทย์์สัญญา  สุขพณิิชนันท์                                           99



                    การ์ปร์ากฏของคำ “เวชศาสตร์์” และ “ชันสูตร์” ในพจนานุกร์มและเอกสาร์ต่าง ๆ

                           ในหนังส่อพจุนานุกร์ม สัพะ พะจุะนะ พาสา ไท ขึ้องบาทหลวงชอง-บาตีสต์ ปาเลอกัว พ.ศ. ๒๓๙๗

                    (ชอง-บาตีสต์ ปาเลอกัว, ๒๓๙๗) ไม่พบคำว่า “เวช” “เวชช์” หร์่อ “ไวทย” แต่มีคำว่า “เวทางคสาตร์” แปลว่า
                    “The three Vedas, sacred books of the bramins” ส่วนคำว่า “ชัณะสูต” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) ให้

                    ความหมายภาษาอังกฤษไว้ว่า “to examine, to prove” นอกจุากนี� คำว่า “วินิจุไฉัย” แปลว่า “to pass a
                    sentence according to the knowledge” และ “โร์งวินิจุไฉัย” แปลว่า “The king’s tribunal” ศาลสถิต

                    ยุติธิร์ร์มขึ้องพร์ะร์าชา แสดงว่าในสมัยนั�น (ช่วงต้นร์ัชกาลที� ๔) คำว่า “วินิจุฉััย” ใช้ในทางกฎหมาย ไม่ได้ใช้ใน
                    ทางการ์แพทย์

                           ในหนังส่อปทานุกร์ม พ.ศ. ๒๔๗๐ (กร์มตำร์า, ๒๔๗๐) มีคำว่า “เวชช์” เป็นคำบาลี ส่วนสันสกฤตใช้ว่า
                    “ไวทย์” แปลว่า “หมอ, หมอผู้่าตัด” มีลูกคำ “เวชชกร์ร์ม การ์ร์ักษาโร์ค” และ “เวชชศาสตร์์ วิชาหมอ, ตำร์า

                    ร์ักษาโร์ค” ปร์ากฏคำว่า “ชันสูตร์” แปลว่า “ตร์วจุตร์า, สอบสวนโดยเหตุผู้ล” ส่วนคำว่า “วินิจุฉััย” แปลว่า
                    “ความไตร์่ตร์อง, ความใคร์่คร์วญ, ความสันนิษฐาน, ความตกลงใจุ; (สำหร์ับกฎหมาย “พิจุาร์ณา, สอบสวน,

                    หาเหตุผู้ล, ตัดสิน”) ไม่ได้ให้ความหมายหร์่อคำแปลสำหร์ับการ์แพทย์ ไม่พบคำว่า “ปฏิบัติการ์” หร์่อ
                    “ห้องปฏิบัติการ์”

                           ในพจุนานุกร์มไทย-อังกฤษขึ้องพร์ะอาจุวิทยาคม (Thai-English Dictionary) (McFarland, 1944)
                    ใน พ.ศ. ๒๔๘๗ คำว่า “เวชชศาสตร์์” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) ให้ความหมายภาษาอังกฤษไว้ว่า “the science

                    of medicine; scientific books or treatises on the practice of medicine” โดยปร์ากฏเป็นลูกคำขึ้อง
                    “เวชช์, ไวทย์” ส่วนคำว่า “ชันสูตร์” ให้ความหมายภาษาอังกฤษไว้ว่า “to verify by an experiment;

                    to test; to prove; to examine by analysis” ไม่พบคำว่า “ปฏิบัติการ์” หร์่อ “ห้องปฏิบัติการ์”
                           ในพจุนานุกร์มอังกฤษ-สยาม (An English-Siamese Dictionary) ขึ้องพร์ะอาจุวิทยาคม (McFarland,

                    1903) ใน พ.ศ. ๒๔๔๖ ได้ให้คำแปลสำหร์ับ “medicine” ว่า “ยา โอสถ วิชาหมอ” “diagnosis” แปลว่า
                    “การ์กำหนดโร์คโดยใช้วิธิีแลเคร์่�องตร์วจุกาย” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) “examine” แปลว่า “ซึ่ักไซึ่้ไล่เร์ียง สังเกต

                    ดู วินิจุฉััย ชัณสูตร์์ พิเคร์าะห์ดู” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) “prove” แปลว่า “ทดลอง ชัณสูตร์์ พิจุาร์ณาได้ความ
                    จุร์ิง” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) และ “investigation” แปลว่า “การ์ส่บเสาะหา การ์พิจุาร์ณา ชำร์ะ” แต่ไม่พบ

                    คำว่า “laboratory” ซึ่้�งคำนี�ก็ไม่พบในหนังส่อปร์ะมวลศัพท์บัญญัติวิชาการ์ศ้กษาขึ้องกร์มวิสามัญศ้กษา เม่�อ
                    พ.ศ. ๒๔๙๙ (กร์มวิสามัญศ้กษา, ๒๔๙๙) และหนังส่อปร์ะมวลศัพท์บัญญัติศัพท์วิชาการ์ศ้กษาขึ้องกร์มวิชาการ์

                    กร์ะทร์วงศ้กษาธิิการ์ พ.ศ. ๒๕๐๘ (กร์มวิชาการ์, ๒๕๐๘) แต่ปร์ากฏในปร์ะกาศสำนักนายกร์ัฐมนตร์ี เร์่�อง
                    บัญญัติศัพท์ฉับับที� ๒ (ร์าชกิจุจุานุเบกษา, ๒๔๘๖) ว่า “ห้องหร์่อหอวิทยาสาตร์” (พิมพ์ตามที�ปร์ากฏ) และ

                    ในหนังส่อบัญญัติศัพท์ขึ้องร์าชบัณฑิิตยสถานว่า “ห้องหร์่อหอวิทยาศาสตร์์” (ร์าชบัณฑิิตยสถาน, ๒๕๒๐)
                    ส่วนที�แปลว่า “ห้องปฏิบัติการ์” นั�น พบในหนังส่อปร์ะมวลศัพท์บัญญัติอุดมศ้กษา สำนักมาตร์ฐานอุดมศ้กษา

                    สำนักงานปลัดทบวงมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๓๗ (สำนักมาตร์ฐานอุดมศ้กษา, ๒๕๓๗) แต่เป็นที�ทร์าบกันดีว่ามี
                    การ์ใช้อย่างแพร์่หลายมาก่อนหน้านั�นแล้ว
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116