Page 177 - วารสาร 48-1
P. 177
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์ ดร.ณรงค์์ฤทธิ์์� ธิ์รรมบุุตร 167
ตรงนี�มีจัุดสำาคัญ่ค้อ การใชี้โน้ตเสียงค้าง (pedal tone) ที�โน้ตตัว B ซิึ�งจัะเป็็นโน้ตเสียงค้าง
ที�อยู่ในแนวบน สังเกตได้จัากแนวบนของฮาร์ป็และแนวไวโอลิน ๑ กับไวโอลิน ๒ ซิึ�งบรรเลงโน้ต B
ในแบบการรูดสาย (glissando) ขณะที�ศูนย์กลางเสียงนั�นจัะอยู่ที�โน้ตตัว E ในบันไดเสียง E ดอเรียน
สำาหรับการป็ระสานเสียงนั�น จัะป็ระกอบไป็ด้วยเสียงที�เป็็นเสียงป็ระสานคู่ห้าเรียงซิ้อน (quintal
harmony) ดังภาพที� ๑๒
ภาพท่� ๑๒ กลุ่มโน้ตที�ใชี้ในการป็ระสานเสียงในลักษณะเสียงป็ระสานคู่ห้าเรียงซิ้อน
ในห้องที� ๑๓๐ มีการพบตัวอย่างของการเล้�อนกุญ่แจัเสียงไป็สู่ C ดอเรียน โดยที�ศูนย์กลางเสียง
เป็ลี�ยนไป็ด้วย และหลังจัากนั�นกุญ่แจัเสียงจัะเป็ลี�ยนกลับที� C เอโอเลียน อีกครั�งหนึ�งในห้องที� ๑๓๒
ขณะเดียวกันในห้องที� ๑๓๔ จัะมีการกลับมาของแนวคิดเดิมที�เคยป็รากฏมาแล้วในห้องที� ๑๒๖ ด้วย
ตอน E
ตอน E ทำาหน้าที�คล้ายเป็็นชี่วงจับ (coda) ของกระบวนศรีวิชีัยนี� เน้�อดนตรีเริ�มจัากเป็็น
โพลีโฟนี (polyphony) แล้วค่อย ๆ คลายตัวออกไป็สู่ความเป็็นโฮโมโฟนี (homophony) ในชี่วงต้นของ
ตอน E นี� จัะพบหลายแนวคิดที�เกิดขึ�นพร้อม ๆ กัน โดยมี ๒ ทำานอง ได้แก่
๑) ทำานองในกลุ่มสามพยางค์ซิึ�งมีความคล้ายกับตอน A
๒) ทำานองที�เป็็นการเคล้�อนที�แบบเดียวกัน (similar motion) ระหว่างไวโอลิน ๑ และ
ไวโอลิน ๒