Page 175 - วารสาร 48-1
P. 175

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
             ศาสตราจารย์์ ดร.ณรงค์์ฤทธิ์์� ธิ์รรมบุุตร                                       165


             และยังสามารถุอธิบายได้อีกว่าลักษณะที�เกิดขึ�นดังกล่าวนั�นเป็็นผลมาจัากเทคนิคการเล้�อน

             กุญ่แจัเสียงด้วย

                     ๕. การเป็ลี�ยนกุญ่แจัเสียงแบบโน้ตร่วม






















                     ภาพท่� ๑๐ การเป็ลี�ยนกุญ่แจัเสียงแบบโน้ตร่วมในกลุ่มเคร้�องสาย ห้องที� ๖๘–๗๐


                     บางครั�งมีการเป็ลี�ยนกุญ่แจัเสียง โดยใชี้คอร์ดซิึ�งมีโน้ตร่วม (common tone) สังเกตได้จัาก

             บันไดเสียงในห้องที� ๖๘ ซิึ�งเริ�มจัาก E ดอเรียน และมีโน้ต E เป็็นโน้ตตัวร่วม นำาเข้าไป็หาบันได้เสียง E
             ไอโอเนียน ในห้องที� ๖๙ และในห้องที� ๗๐ ทำานองเป็ลี�ยนไป็สู่ C# เอโอเลียน โดยที�บันไดเสียงทั�งหมด

             มีโน้ต E เป็็นตัวร่วม ทำาให้การเป็ลี�ยนกุญ่แจัเสียงนั�นมีความแนบเนียน
                     ตอน C2 มีการป็รับรายละเอียดเล็กน้อย โดยให้กลุ่มออสตินาโตที�กล่าวไว้ในข้อ ๑ กระจัาย

             ไป็ยังกลุ่มต่าง ๆ ของเคร้�องดนตรี
                     ตอน C3 เป็็นการขยายแนวคิดที�ใชี้ในตอน C1 พร้อมกับเพิ�มทำานองใหม่อีก ๑ ทำานอง

             โดยที�ยังได้ยินกลุ่มออสตินาโตอยู่ตลอดเวลา
                     ตอน C3–4 เป็็นการนำาแนวคิดทั�ง ๕ แนว กลับมาใชี้ทั�งหมด

                     ตอน C5 เป็็นการซิำ�า (repeat) แนวคิดของตอน C3 แต่ไม่ได้เหม้อนกันทั�งหมด มีการป็รับ
             บ้างเล็กน้อย

                     ตอน D
                     ตอน D ถุ้อเป็็นชี่วงไคลแมกซิ์ของท่อน ผู้ป็ระพันธ์ได้นำาทำานองเพลงโนราท่อนที�ติดหูที�สุด

             มาใชี้ในแนวทรัมเป็็ตกับฮอร์น ทำานองหลักอยู่ที�กลุ่มเคร้�องเป็่าทองเหล้อง
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180