Page 182 - วารสาร 48-1
P. 182

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
           172                                                                ตู้้�พระธรรมชุุดจีีนบุุญรอด



                        cabinets both in Chinese and Thai. According to the research, it was found that
                        the creator of this set of scripture cabinets was Mr. Boon Rawd, a Chinese affluent
                        and the founder of the Kalayanamitr family, who resided under King Rama III’s
                        royal protection. The author has been hunting for this set of cabinets since 1992.
                        Until now, ten of them have been discovered at temples in Rayong, Chanthaburi,
                        Trat, Phetchaburi, and Bangkok. The Chinese Boon Rawd series scripture cabinets
                        were investigated in three categories: shapes, patterns, and special characteristics.
                        All of the ten scripture cabinets had the same overall size, with comparable
                        characteristics and patterns. Additionally, the accounts appeared to imply that
                        they were offered as a pair. At present, not all pairs have been located; more of

                        these cabinets may be discovered in the future.

                        Keywords:  scripture cabinet, Boon Rawd Chinese



           บุทนำา

                    เมัื�อพรัะบาทสมัเด็จพรัะนั�งเกล้าเจ้าอย้่หัว้เสด็จขี่�นเสว้ยรัาชุสมับัต้ิ ทรังปรัับปรัุงรัะบบ
           เศรัษฐกิจจากการัคื้าผู้้กขีาดขีองหลว้งกับเศรัษฐกิจแบบพอยังชุีพขีองปรัะชุาชุนไปส้่รัะบบการัต้ลาดและ

           การัส่งออกโดยเฉพาะการัคื้ากับจีน ปัต้ต้าเว้ีย และสิงคืโปรั์ การัคื้าขีายกับจีนซึ่่�งเป็นต้ลาดใหญ่ที�สุดนั�น
           พรัะบาทสมัเด็จพรัะนั�งเกล้าเจ้าอย้่หัว้ต้้องพ่�งพาอาศัยชุาว้จีนโพ้นทะเลที�เขี้ามัาพ่�งพรัะบรัมัโพธิสมัภารั

           ในกรัุงสยามัรั่ว้มักับพ่อคื้าชุาว้ไทย จนกิจการัการัคื้าขีองไทยเฟื่่�องฟื่้ขี่�น ชุาว้จีนในกรัุงสยามัได้รัับ
           พรัะมัหากรัุณาธิคืุณเป็นอเนกปรัะการั (ศุภว้ัฒย์  เกษมัศรัี, ๒๕๓๑ : ๒๖๕–๒๗๑) และเป็นชุ่ว้งเว้ลา

           ที�พรัะองคื์พรั้อมัด้ว้ยขี้ารัาชุบรัิพารัได้บ้รัณปฏิสังขีรัณ์และสรั้างว้ัดว้าอารัามัคืรัั�งสำาคืัญ จนเป็นที�
           กล่าว้ขีานกันว้่าในรััชุกาลนี� “ใคืรัใจบุญชุอบสรั้างว้ัดว้าอารัามัก็เป็นคืนโปรัดขีองพรัะองคื์ ดังนั�น

           งานปรัะณีต้ศิลป์ซึ่่�งเป็นงานปรัะดิษฐ์ต้กแต้่งพุทธสถานยังได้รัับการัยอมัรัับว้่ามัีคืว้ามัปรัะณีต้บรัรัจงยิ�ง
           ไมั่ว้่าจะเป็นการัปรัะดับมัุก การัปรัะดับกรัะจก การัเขีียนลายปิดทองรัดนำ�า การัปั�นป้น เป็นต้้น”

           (จุลทัศน์  พยาฆรัานนท์, ๒๕๓๑ : ๑๕๗–๑๘๙)  สิ�งสำาคืัญคืือการัยอมัรัับลักษณะบางปรัะการัขีอง
           ศิลปะต้กแต้่งแบบจีนมัาเสรัิมัแต้่งอย้่ในงานศิลปกรัรัมัไทย อีกทั�งคืหบดีผู้้้อุปถัมัภ์ออกทุนทรััพย์ในการั

           สรั้างศิลปกรัรัมัเพื�อพุทธศาสนาก็มัักเป็นชุาว้จีนจากโพ้นทะเลผู้้้มัีฐานะมัั�งคืั�ง
   177   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187