Page 173 - วารสาร 48-1
P. 173
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์ ดร.ณรงค์์ฤทธิ์์� ธิ์รรมบุุตร 163
ขณะเดียวกันในห้องที� ๕๖ จัะสังเกตเห็นการใชี้กลุ่มคอร์ดที�เป็็นคอร์ดขั�นคู่สี�และคอร์ดขั�นคู่ห้า
เรียงซิ้อน (quartal and quintal harmony) โดยเฉีพาะอย่างยิ�งในกลุ่มเคร้�องทองเหล้องซิึ�งทำาหน้าที�
บรรเลงเสียงป็ระสาน
อนึ�ง ทิศทางของทำานองในตอน B นี� จัะเริ�มต้นจัากความเข้มเสียงที�เบาและค่อย ๆ ไล่เสียง
ดังขึ�นเร้�อย ๆ จันจับตอน ซิึ�งผู้ฟังน่าจัะได้ยินเสียงแสดงบทบาทของตอน B ที�มีลักษณะเป็็นชี่วงเชี้�อมต่อ
(transition) เพ้�อนำาเข้าไป็หาตอน C1 ต่อไป็
ตอน C
ตอน C เป็็นตอนที�มีความยาวที�สุดจัากทั�งกระบวนที� ๑ นี� โดยแบ่งเป็็นตอนย่อยถุึง ๕ ตอน
ในแต่ละตอนย่อย ๆ เหล่านี� จัะมีลักษณะร่วมเชี้�อมโยงให้เกิดความเป็็นหนึ�งเดียวของตอน C อยู่
โดยผู้ป็ระพันธ์ได้ใชี้เทคนิคการป็ระพันธ์เพลงหลายแบบมาเป็็นส่วนเชี้�อมโยง ดังนี�
๑. การใชี้ออสตินาโต (ostinato) ผู้ป็ระพันธ์ได้ศึกษาจัากดนตรีโนรา และได้นำามาป็ระยุกต์
ใชี้กับเสียงของเคร้�องตีในวงมาป็รับให้เป็็นออสตินาโตชีุดหนึ�ง ซิึ�งกลุ่มโน้ตที�เป็็นออสตินาโตชีุดนี�บรรเลง
อยู่ในแนววิโอลากับเชีลโล และมีการทบเสียงด้วยกลุ่มเคร้�องทองเหล้อง ได้แก่ ฮอร์นและทรอมโบน
ดังภาพที� ๘
ภาพท่� ๘ กลุ่มโน้ตออสตินาโตบรรเลงในแนววิโอลากับเชีลโลทบเสียงด้วยฮอร์นกับทรอมโบน
ห้องที� ๕๗–๕๙