Page 110 - วารสาร 48-1
P. 110

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม–เมษายน ๒๕๖๖
           100                                            จารึึกเขมรึสมัยหลัังพรึะนครึในกัมพูชาที่่�เก่�ยวข้องกับอยุธยา


           การกลั่าวัถ่งควัามสัมพูันธ์ทางพูระพูุทธศาสนาระหวั่างไทย–กัมพููชา ในรัชกาลัสมเด้็จำพูระมหาธรรม-

           ราชาธิราช แลัะการยกทัพูไปติ่เมืองลัะแวักในรัชกาลัสมเด้็จำพูระนเรศวัรมหาราช

                    อน่�ง การท่�ผู่้เข่ยนได้้เสนอคำาปริวัรรติ คำาอ่าน แลัะคำาแปลัใหม่จำากสำาเนาจำาร่กโด้ยพูยายาม
           รักษาถ้อยคำาสำานวันเด้ิมของภาษาในจำาร่กเอาไวั้ด้ังปรากฏิในบ้ทควัามน่� ย่อมแสด้งให้เห็นวั่าจำาร่กเหลั่าน่�
           ม่ประโยชน์ในการศ่กษาติ่ควัามถ้อยคำา แลัะม่ประโยชน์ในการศ่กษาภาษาเชิงประวััติิอ่กด้้วัย


           บที่สรึุป
                    จำาร่กเขมรสมัยหลัังพูระนครท่�ม่ควัามเก่�ยวัข้องกับ้อยุธยาสามารถจำำาแนกออกได้้เป็น ๒ กลัุ่ม

           คือ จำาร่กนครวััด้สมัยหลัังพูระนคร (IMA) แลัะจำาร่กเขมรสมัยหลัังพูระนครท่�ไม่ได้้อยู่ในกลัุ่มจำาร่ก

           นครวััด้ซึ่่�งม่ควัามเก่�ยวัเนื�องกับ้อยุธยาอ่กหลัายหลััก จำากท่�กลั่าวัมาแสด้งให้เห็นวั่า ศิลัาจำาร่กเขมร
           สมัยหลัังพูระนครนอกจำากจำะให้ควัามรู้ทางด้้านประวััติิศาสติร์ของกัมพููชาโด้ยติรงแลั้วั การศ่กษาจำาร่ก
           กัมพููชาสมัยหลัังพูระนครท่�ร่วัมสมัยกับ้อยุธยาได้้ทำาให้เกิด้ควัามเข้าใจำประวััติิศาสติร์ควัามสัมพูันธ์

           ระหวั่างไทยสมัยอยุธยากับ้กัมพููชาได้้มากยิ�งข่�น นอกจำากน่�ยังให้ควัามรู้เรื�องภาษาเขมรในสมัยหลััง

           พูระนครด้้วัย จำาร่กเหลั่าน่�จำ่งนับ้วั่าเป็นหลัักฐานสำาคัญ่ทางประวััติิศาสติร์แลัะทางภาษาซึ่่�งควัรม่การ
           ศ่กษาในรายลัะเอ่ยด้ติ่อไป

           เอกสารึอ้างอิง

           กรมศิลัปากร. (๒๕๑๓). ราชิพงษาวดารกรุงกัมพูชิา. พูระนคร : แพูร่พูิทยา.
           ทำำาเนัียบันัาม ภาคีทำี� ๓ ตำาราทำำาเนัียบับัันัดาศิักดิ�กรุงกัมพูชิา. (๒๔๖๕). พูระนคร : โสภณพูิพูรรฒธนากร.

           ประชิุมพงศิาวดารฉบัับักาญจนัาภิเษก เล่ม ๑. (๒๕๔๒). กรุงเทพูฯ : คณะกรรมการอำานวัยการจำัด้งาน

                    ฉลัองสิริราชสมบ้ัติิครบ้ ๕๐ ปี.
           ประชิุมศิิลาจารึกภาคีทำี� ๔. (๒๕๑๓). พูระนคร : คณะกรรมการจำัด้พูิมพู์เอกสารทางประวััติิศาสติร์
                    สำานักนายกรัฐมนติร่โรงพูิมพู์สำานักทำาเน่ยบ้นายกรัฐมนติร่.

           ประชิุมศิิลาจารึก ภาคีทำี� ๗ ประมวลจารึกทำี�พบัในัประเทำศิไทำยและต่างประเทำศิ (๒๕๓๕). กรุงเทพูฯ :

                    คณะกรรมการชำาระประวััติิศาสติร์ไทยแลัะจำัด้พูิมพู์เอกสารทางประวััติิศาสติร์แลัะโบ้ราณคด้่
                    สำานักเลัขาธิการนายกรัฐมนติร่.
           ศานติิ ภักด้่คำา แลัะนวัรัติน์ ภักด้่คำา. (๒๕๖๑). ประวัติศิาสตร์อยุธยาจากจารึก : จารึกสมัยอยุธยา.

                    กรุงเทพูฯ : สมาคมประวััติิศาสติร์ในพูระราชูปถัมภ์ฯ.

           อุไรศร่ วัรศะริน. (๒๕๔๒). จารึกนัคีรวัดสมัยหลังพระนัคีร คี.ศิ. ๑๕๖๖–คี.ศิ. ๑๗๔๗. กรุงเทพูฯ :
                    จำงเจำริญ่การพูิมพู์.
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115