Page 181 - 47-2
P. 181
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 171
ค้ือ ราษฎรซื้ึ�งเป็นัไพร่ของฟ้้า ค้ือกษัต่ริย์ มีค้วามทุกข์ในัชิีวิต่ ก็ค้วรแปล “ไพร่ฟ้้าข้าไท” ค้ือ ราษฎร
ซื้ึ�งเป็นัไพร่ของฟ้้า ของกษัต่ริย์ ว่า เป็นัข้า หรือทาสของไท ค้ือผู้้้เป็นัอิสระ ผู้้้เป็นัใหญ่ ก็นั่าจะเข้าใจ
ค้วามหมายของไพร่ฟ้้าข้าไทได็้ แต่่ถ้าแปลเป็นัค้นัใชิ้ ค้นัรับใชิ้ พลเมือง บริพาร ล้กเจ้า ล้กขุนั
ค้วามหมายค้งอ่อนัไปและไม่เข้าบริบท ที�เป็นัทรัพย์สินัต่กทอด็แก่ทายาท ค้ือ ไม่นั่าจะเป็นัทรัพย์สินั
ที�ต่กทอด็ส้่ล้กได็้
ซื้ึ�งทั�งหมด็ที�กล่าวมา จะเห็นัว่า ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร อาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล
ต่่างยอมรับว่าสุโขทัยมีทาส แม้จะไม่ยอมรับหรือมีค้วามเห็นัแต่กต่่างจากค้ำาแปลของ “ไพร่ฟ้้าข้าไท”
ที�ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ขจร สุขพานัิชิ แปลว่า ทาส ก็ต่าม
สริุป์
มีค้วามเชิื�อแต่่เด็ิมมาว่าสุโขทัยไม่มีทาสด็้วยหลักฐานัที�จำากัด็ ประกอบกับไม่มีค้ำาว่า ทาส
หรือ ทาษ ในัจารึกสุโขทัย แต่่ในัปัจจุบันัพบหลักฐานัมากขึ�นั และมีข้อค้วามเกี�ยวกับ “ข้า” “ข้าไท”
“ข้าค้นั” “ข้าพระ” นัอกเหนัือจาก “ไพร่ฟ้้าข้าไท” ที�มีค้วามเห็นัแต่กต่่างกันั รวมทั�งมีการซื้ื�อค้นั
และสัต่ว์ปล่อย กวาด็ต่้อนัผู้้้ค้นัหรือเชิลยเมื�อรบชินัะ การอุทิศค้นัให้กับวัด็ ข้าบวชิต่้องได็้รับค้วามยินัยอม
จากนัาย การให้ข้าเป็นัไทค้ือเป็นัอิสระพ้นัจากการเป็นัข้าในับางกรณี ซื้ึ�งเป็นัลักษณะเด็ียวกันักับการ
เป็นัทาส ค้ือเป็นัสมบัต่ิของบุค้ค้ลผู้้้เป็นันัาย ประกอบกับมีการใชิ้ค้ำาว่า ข้า ข้าไท ข้าค้นั ไพร่ฟ้้าทาษไท
ในัสมัยอยุธยา และสมัยรัต่นัโกสินัทร์ถึงรัชิสมัยพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย้่หัว ซื้ึ�งให้
ค้วามหมายเชิ่นัเด็ียวกับค้ำาว่า “ข้า” “ข้าไท” ในัสมัยสุโขทัย จึงทำาให้สรุปได็้อย่างชิัด็เจนัว่า สุโขทัยมี
“ข้า” นัั�นั ค้ือ มีทาสนัั�นัเอง
เอกสาริอ้างอิง
เอกสาริชัั�นต้น
กฎหมัายลักษณะทาษ. (๒๔๒๓). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ค้ร้สมิท บางค้อแหลม, จ.ศ. ๑๒๔๒
หนังสือริาชักิจจานุเบกษา เล่มั ๑ ตั�งแต่เดิือน ๕ ไป์จนเดิือน ๔, ๑๒๓๖. (๒๕๔๐). พิมพ์ซื้ำ�า. กรุงเทพฯ :
ต่้นัฉบับ.
หอจด็หมายเหตุ่แห่งชิาต่ิ. (๒๔๕๐). เอกสาริริัชักาลที� ๕ ริ.๕ บ. ๑๕.๕ เริื�องสมัาคมัสืบสวุนของ
บุริาณในป์ริะเทศสยามั ๒๙ ธันวุาคมั ริ.ศ. ๑๒๖.
หนังสือ บทควุามั
ขจร สุขพานัิชิ. (๒๕๑๔). “ไพร่ฟ้้าข้าไท”. ศิลป์ากริ. ๑๕(๓) กันัยายนั ๒๖๑-๒๖๗.