Page 176 - 47-2
P. 176

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           166                                                            ทาสในสมััยสุโขทัย  ไมั่มัีจริิงหริือ


                      “...ไพร่ฟ้้าประชากรทุกวันันัี� คบัหากันักระทำาโจรกรรมฬ่่อลวงลักภาเอา

                    บัุตรภรรยา ผู้้้คนั ทาษครอกทาษสำินัไถ่ ล้กทาษล้กครอกขีองอนัาปรช้าราษฎร...

                    เจ้าเบัี�ยนัายเงินัที�หาสำติปัญามิได้ ช่วยไถ่ไว้ มิได้ไต่สำวนัให้ร้้ว่า เปนัผู้้้คนัล้กเมีย
                    ขี้าไทขีองผู้้้ใด...” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๒) : ๗๒๘)


                    และมีการใชิ้ค้ำาว่า ล้กทาษ ข้าไท ต่่อมาอีกในัฉบับนัี�  ที�นั่าสังเกต่อย่างยิ�ง ค้ือ มีการใชิ้ค้ำาว่า
           ข้าไท ที�มีค้วามเห็นัแต่กต่่างกันัในัการแปลค้ำาว่า ข้าไท ในั ไพร่ฟ้้าข้าไท ในัจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหง
           มหาราชิ

                    นัอกจากนัี� ยังมีการใชิ้ค้ำาว่า ข้า ค้้่กับค้ำาว่า ทาษ ต่่อมา ด็ังที�ปรากฏในั “ประกาศแผู้่นัด็ินั

           พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้าว่าด็้วยทาษหนัี” ว่า “...ให้ทราบทั�วกันัต่ลอด็ลงไปจนัข้าเจ้าบ่าวนัายแล
           ราษฎรทั�วไป”  หลังจากนัี�ก็ใชิ้ค้ำาว่า ทาษ เกือบต่ลอด็  และมีใชิ้อีกว่า “ค้วามลำาเอียงเข้ากับบุต่รภรรยา
           ข้าบ่าวของต่ัวไป” (หนัังสือราชิกิจจานัุเบกษา เล่ม ๑ : ๔๐๓-๔๐๕) ในั “ประกาศกระเษียรอายุล้กทาษ

           ล้กไทย” พ.ศ. ๒๔๑๗ ต่้นัรัชิสมัยพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย้่หัว ยังมีการใชิ้ค้ำาว่า “ค้่า”

           ซื้ึ�งหมายถึง “ข้า” ในัข้อค้วามว่า “อนัึ�งทาษไพร่ใจพาลสันัด็านัค้่า” (หนัังสือราชิกิจจานัุเบกษา
           เล่ม ๑ : ๒๒๐)

           สมััยสุโขทัย ไมั่มัีทาส หริือ มัีทาส

                    จากที�กล่าวมา ถ้าจะกล่าวโด็ยยึด็เอาค้ำาว่า ทาษ หรือทาส เป็นัที�ต่ั�ง ก็สามารถกล่าวได็้ว่า
           สมัยสุโขทัยไม่มีทาส แต่่ก็มี ข้า และมีการอธิบายว่า ข้า มีค้วามหมายไม่เท่ากับทาส  ทั�งมีค้วามเห็นั

           เพิ�มเต่ิมว่าการที�มีทาสในัสมัยอยุธยาหลบหนัีไปสุโขทัย ด็ังที�ปรากฏในั “พระไอยการลักภา” ที�ประกาศใชิ้

           ในั พ.ศ.๑๘๙๙ พระราชิปรารภที�ว่า
                      “ขี้าหนัีเจ้าไพร่หนัีนัาย แลมีผู้้้เอาไปถึงเชลียงศุกโขีไททุงย้างบัางยม สำองแก้ว
                    สำหลวง ชาวดงราวกำาแพงเพชร  เมืองท่านัเปนัอันัหนัึ�งอันัเดียวกันัดั�งนัี� แลมีผู้้้

                    เอาทาษเอาไพร่ท่านัมาขีายแลเจ้าทาษเจ้าไพร่แห่งพระนัครศรีอยุธยาพบัแล

                    มากล่าวพิภาษว่าให้ผู้้้ไถ่ไปไล่เอาเบัี�ยแก่ผู้้้ขีายนัั�นัคืนั” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั : ๗๘๖)

                    ข้อค้วามนัี�จึงเป็นัหลักฐานัใชิ้อ้างว่า สุโขทัยไม่มีทาส มิฉะนัั�นั “ข้าหนัีเจ้าไพร่หนัีนัาย”

           จะหลบหนัีไปทำาไม อย่างไรก็ด็ี ก็ไม่ได็้กล่าวถึงข้าในัค้วามข้างต่้นัที�ว่า ข้าหนัีเจ้า แล้วต่่อมาก็มีการใชิ้
           ค้ำาว่า ทาษ แทนั และใชิ้ ข้าหนัีเจ้า เจ้าทาษ เจ้าไพร่ ร่วมกันั
   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181