Page 178 - 47-2
P. 178

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           168                                                            ทาสในสมััยสุโขทัย  ไมั่มัีจริิงหริือ


                    ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ  ณ นัค้ร ยังได็้อธิบายค้วามหมายของค้ำาว่า “ข้าไท” ไว้ในั

           สำารานัุกรมประวัติศาสำตร์ไทย เล่ม ๒ อักษร ขี-จ (พ.ศ. ๒๕๔๕) โด็ยอ้างค้ำาว่า ข้าไท ในัจารึกสุโขทัย

           หลักที� ๑ (จารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหง) หลักที� ๓ (จารึกนัค้รชิุม) และหลักที� ๕ (จารึกวัด็ป่ามะม่วง)
           ด็ังที�ผู้้้เขียนัได็้อ้างไว้ข้างต่้นั แต่่ยังมีจารึกอีกหลายหลักที�ท่านัไม่ได็้อ้าง แล้วท่านัอธิบายว่า “ไพร่ค้้่กับข้า
           แต่่เด็ิมค้งมีค้วามหมายเท่ากับข้าค้้่กับไท” และสรุปว่า “อาจสรุปได็้ว่า สมัยสุโขทัย ข้าไทค้้่กับไพร่ฟ้้า

           แปลว่า ประชิาราษฎร แต่่มีค้วามหมายหนัึ�งว่า บริวาร” (สำานัักงานัราชิบัณฑิิต่ยสภา, ๒๕๖๒ : ๑๐๐)

                    ยังมีค้วามหมายล่าสุด็ของ ไพร่ฟ้้าข้าไท หรือเฉพาะค้ำาว่า ข้า ว่า “บ่าวไพร่ ค้นัรับใชิ้”  (สำานัักงานั
           ราชิบัณฑิิต่ยสภา, ๒๕๖๓ : ๔๕) โด็ยอ้างข้อค้วามในัจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหงประกอบ ปรากฏในั
           พจนัานัุกรมโบัราณศัพท์ ฉบัับัราชบััณฑิิตยสำภา (พ.ศ. ๒๕๖๓)

                    เมื�อกล่าวถึงค้ำาว่า “ข้า” ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ  ณ นัค้ร ยังอธิบายไว้ในัเรื�อง “ข้าไท”

           ที�กล่าวข้างต่้นั ว่า “สมัยอยุธยา ข้าของไท หมายถึง บริวารของนัาย ค้้่กับไพร่ฟ้้า ซื้ึ�งหมายถึง
           ค้นัของหลวง  ค้รั�นัถึงสมัยรัต่นัโกสินัทร์ ใชิ้ ไพร่ฟ้้าทาสไท แทนัที� ไพร่ฟ้้าข้าไท แสด็งว่า ข้า มี
           ค้วามหมายเชิ่นัเด็ียวกับ ทาส  จึงเป็นัอันัว่า ข้าไท ค้่อย ๆ ลด็ฐานัะของค้นัอิสระลงมาจนักลายเป็นัทาส

           ในัที�สุด็ (สำานัักงานัราชิบัณฑิิต่ยสภา, ๒๕๖๒ : ๑๐๐)

                    ที�กล่าวมา เป็นัค้วามเห็นัและค้วามเชิื�อว่าสุโขทัยไม่มีทาส แต่่ยังมีค้วามเห็นักลาง ๆ ทั�ง
           ปฏิเสธและยอมรับว่าสุโขทัยมีทาส  ค้วามเห็นันัี�เป็นัของศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ  ณ นัค้ร ในั
           “ประวัต่ิศาสต่ร์สุโขทัยจากจารึก” ในั การอธิบัายศิลาจารึกสำมัยสำุโขีทัย ระบุว่า การที�พระยาลิไทย

           ทรงนัำาเชิลยศึกมาเป็นัข้าพระวัด็ป่าแด็ง และ “พระมหาเถรศรีศรัทธาซื้ื�อค้นัปลด็ปล่อยเป็นัอิสระ

           ในัขณะที�เด็ินัทางจากสุโขทัยไปลำาพ้นั  หากเป็นัเรื�องในัล้านันัาแสด็งว่าล้านันัามีข้า ในัขณะที�อยุธยา
           มีทาส เมื�อพระในัสุโขทัยมีข้าได็้ ค้นัธรรมด็าในัสุโขทัยนั่าจะมีข้าได็้”  (ประเสริฐ  ณ นัค้ร ๒๕๔๗ : ๑๓-๑๔)
                    ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ  ณ นัค้ร (๒๕๔๗ : ๒๔) ยังได็้กล่าวซื้ำ�าเมื�ออธิบายจารึกวัด็ศรีชิุม

           เรื�อง พระมหาเถรศรีศรัทธาซื้ื�อค้นัและสัต่ว์ปล่อย ด็ังที�กล่าวมาแล้ว แสด็งว่ามีทาสอย้่ในัอาณาจักร

           สุโขทัย หรือไม่ก็ในัอาณาจักรล้านันัา
                    ค้วามเห็นัในัเรื�องการนัำาเชิลยศึกมาเป็นัข้าพระและการซื้ื�อค้นัและสัต่ว์ปล่อย ศาสต่ราจารย์
           ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร ยอมรับด็้วยค้วามระมัด็ระวังว่า สุโขทัยอาจจะมีข้าหรือทาส

                    อีกค้วามเห็นัหนัึ�งที�ทั�งปฏิเสธและยอมรับการไม่มีหรือการมีทาสในัสมัยสุโขทัย ค้ือ ค้วามเห็นั

           ของท่านัอาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล อด็ีต่กรรมการชิำาระประวัต่ิศาสต่ร์ไทยและอด็ีต่หัวหนั้ากองวรรณค้ด็ี
           และประวัต่ิศาสต่ร์ กรมศิลปากร ได็้แสด็งค้วามเห็นัไว้ในับทค้วามเรื�อง “ไพร่ฟ้้าข้าไทในัจารึก
   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182   183