Page 179 - 47-2
P. 179
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 169
พ่อขุนัรามค้ำาแหง” ซื้ึ�งเป็นัการเขียนัหรือส่ง “ต่ระกร้อ” ทางวิชิาการต่ามที�ศาสต่ราจารย์ขจร สุขพานัิชิ
ใชิ้ในับทค้วาม “ไพร่ฟ้้าข้าไท” ของท่านั ด็ังจะกล่าวต่่อไป ท่านัอาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล ไม่ยอมรับการแปล
ค้ำาว่า ไพร่ฟ้้าข้าไท ว่าหมายถึง ทาส และยังแย้ง ศาสต่ราจารย์ยอร์ชิ เซื้เด็ส์ (G. Coedès) ที�แปล
ค้ำาว่า esclaves ในัภาษาฝรั�งเศส ว่า ทาส จากที�เค้ยแปลว่า retainers (ผู้้้ต่ิด็ต่าม) ต่่อมาจึงแปลว่า
esclaves ด็้วย อีกทั�งไม่เห็นัด็้วยกับการแปลค้ำา ข้าไท ว่า ทาส โด็ยท่านัมีค้วามเห็นัว่า ไพร่ฟ้้าข้าไท
“หมายค้วามว่า ผู้้้อย้่ในัอุปการะของผู้้้ต่ายหรือเจ้ามรด็ก แต่่อาจรวมทาสชิะเลยก็ได็้... เพราะเป็นั
บริวารของเจ้ามรด็กเหมือนักันั” แต่่ท่านัอาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล (๒๕๑๕ : ๒๗๗-๒๗๘) ยอมรับว่า
การได็้ผู้้้ค้นัมาเป็นัเชิลย “ถ้าจะมีผู้้้กล่าวว่า กรุงสุโขทัยมีทาสชิะเลย ข้าพเจ้าจะไม่เถียงเลย” และการที�
มีการซื้ื�อค้นัและสัต่ว์ปล่อยให้พ้นัทุกข์นัั�นั “แสด็งว่าในัสมัยสุโขทัยก็ต่้องมีทาสแล้ว”
จึงกล่าวได็้ว่า ค้วามเห็นัของศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร และอาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล
มีทั�งข้อค้วามที�ปฏิเสธการมีทาสและยอมรับการมีทาสในัสมัยสุโขทัย
ค้วามเห็นัสุด็ท้ายที�จะกล่าวถึง ค้ือของศาสต่ราจารย์ขจร สุขพานัิชิ (๒๕๑๕ : ๒๖๑)
อด็ีต่กรรมการชิำาระประวัต่ิศาสต่ร์ไทย และเป็นัศาสต่ราจารย์พิเศษในัหลายมหาวิทยาลัย รวมทั�ง
เป็นัอาจารย์ของผู้้้เขียนัด็้วย แต่่การอ้างอิงบทค้วามของท่านั ผู้้้เขียนัขอเป็นัเพียงผู้้้รับส่ง “ต่ระกร้อ”
อีกต่่อหนัึ�ง หลังจากศาสต่ราจารย์ยอร์ชิ เซื้เด็ส์ เป็นัผู้้้ส่งต่ระกร้อมือ ๑ ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ
ณ นัค้ร และ เอ. บี. กริสโวลด็์ (A. B. Griswold) ซื้ึ�งเขียนับทค้วามภาษาอังกฤษเรื�อง “The Inscription
of King Rama Gamhen of Sukhothai (1292 AD.)” ลงในั JSS วารสารของสยามสมาค้มเป็นัมือ
๒ ต่ัวท่านัเป็นัมือ ๓ และอาจารย์ต่รี อมาต่ยกุล รับเป็นัมือ ๔ (ด็ังที�กล่าวมาแล้ว)
ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ขจร สุขพานัิชิ ได็้เท้าค้วามการแปลค้ำาว่าไพร่ฟ้้าข้าไท ที�ศาสต่ราจารย์
ยอร์ชิ เซื้เด็ส์ให้ค้วามหมายไว้ และต่่อมาศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร ร่วมกับเอ. บี. กริสโวลด็์
ให้ค้วามหมายไว้ และท่านัได็้อ้างการซื้ื�อค้นั สัต่ว์ ของพระมหาเถรศรีศรัทธาประกอบ ทั�งพิจารณา
บริบทของค้ำา ไพร่ฟ้้าหนั้าใส ไพร่ฟ้้าหนั้าปก ซื้ึ�งอย้่ในัจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหง มาประกอบค้ำาอธิบาย
ไพร่ฟ้้าข้าไท โด็ยอธิบายว่า “ไพร่ฟ้้าหนั้าใสนัั�นัเป็นัราษฎรธรรมด็าสามัญ เราอาจจะต่ีค้วามหมายว่า
ไม่มีค้ด็ี ไม่มีทุกข์ หนั้าต่าจึงสด็ใส ยิ�มแย้ม” ส่วนัไพร่ฟ้้าหนั้าปก หมายถึง “ราษฎรที�มีค้ด็ี จะเป็นั
โจทย์หรือจำาเลยก็สุด็แล้วแต่่ แม้หนั้าต่าไม่เสบย จิต่ใจไม่เบิกบานั” (ขจร สุขพานัิชิ, ๒๕๑๕ : ๒๖๓) ซื้ึ�ง
แต่กต่่างและสอด็ค้ล้องกับประชุมจารึก ภาคที� ๘ ที�ให้ไว้ว่า ไพร่ฟ้้าหนั้าใส, ทหาร, รี�พล, ประชิาชินั
ไพร่พล ส่วนัไพร่ฟ้้าหนั้าปกให้ค้วามหมายว่า ประชิาชินัที�มีทุกข์ร้อนั หนั้าปก หมายถึง เด็ือด็ร้อนั มีทุกข์
(กรมศิลปากรม, ๒๕๔๘ : ๕๘๕)