Page 177 - 47-2
P. 177
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 167
ค้วามเห็นัที�ว่า สุโขทัยไม่มีทาส นัอกจากของสมเด็็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศ
วริยาลงกรณ์ ด็ังที�กล่าวในัต่อนัต่้นั ยังมีค้วามเห็นัที�สำาค้ัญอีก เชิ่นั สมเด็็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระยาด็ำารงราชิานัุภาพ บิด็าวิชิาประวัต่ิศาสต่ร์และโบราณค้ด็ีไทย ในั “ลักษณะการปกค้รอง
ประเทศสยามแต่่โบราณ” ระบุว่า “ในัสมัยสุโขทัยนัั�นั ค้นัไทยยังไม่ร้้จักประเพณีทาส” (วิชิัย
เสวะมาต่ย์, ๒๕๑๐ : ๙) หลวงวิจิต่รวาทการ อด็ีต่อธิบด็ีกรมศิลปากร ในั “ประวัต่ิศาสต่ร์เศรษฐกิจ
ของไทย” กล่าวว่า “เรื�องทาสไม่ใชิ่เรื�องของไทย แต่่เป็นัเรื�องที�สมัยกรุงศรีอยุธยาเอามาจากขอม”
(วิชิัย เสวะมาต่ย์, ๒๕๑๐ : ๑๐)
ค้วามเชิื�อด็ังกล่าวมีอิทธิพลต่่อวิชิัย เสวะมาต่ย์ ในัการเขียนัวิทยานัิพนัธ์มหาบัณฑิิต่ เรื�อง
“การเลิกทาสในัรัชิสมัยพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย้่หัว” ซื้ึ�งได็้รับการยกย่องเป็นัวิทยานัิพนัธ์
ด็ีเด็่นั และได็้รับการพิมพ์เผู้ยแพร่โด็ยสำานัักวิจัย สถาบันับัณฑิิต่พัฒนับริหารศาสต่ร์ เมื�อ พ.ศ. ๒๕๑๐
อีกค้วามเชิื�อว่าสุโขทัยไม่มีทาสในัปัจจุบันั ขอกล่าวถึงด็้วยค้วามเค้ารพ ทุกท่านัให้ค้วามเมต่ต่า
ต่่อผู้้้เขียนั เริ�มด็้วย ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร ราชิบัณฑิิต่ และอด็ีต่ประธานัค้ณะกรรมการ
ชิำาระประวัต่ิศาสต่ร์ไทย ผู้้้เชิี�ยวชิาญจารึกและประวัต่ิศาสต่ร์สุโขทัย ให้ค้วามหมายค้ำาว่า ไพร่ฟ้้าข้าไท
ว่า
“ไพร่ฟ้้าขี้าไท หมายถึง บัริวารขีองล้กเจ้าล้กขีุนั ไพร่ฟ้้าขี้าไทด้จะเป็นัคนั
ชั�นัตำ�ากว่าไพร่ฟ้้าหนั้าใสำซึ่ึ�งมีบัริวารได้ แต่ไพร่ฟ้้าขี้าไทเป็นับัริวาร หรือคำาว่า
ขี้าไทนัี� อาจเป็นัเพียงสำร้อยคำาก็ได้ ยากที�จะกล่าวได้ว่ามีการแบั่งชนัชั�นัไพร่ฟ้้า
เพราะไม่เคยพบัตำาราการแบั่งชนัชั�นั และความในันัี�ก็ไม่แจ่มแจ้งว่า ใครเป็นั
ผู้้้มีบัริวาร” (กรมศิลปากร, ๒๕๔๘ : ๓๙-๔๐)
ค้วามเห็นันัี�เป็นัผู้ลจากการสัมมนัาเรื�องศิลาจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหง โด็ยกรมศิลปากร เมื�อ
พ.ศ. ๒๕๑๕ และ พ.ศ. ๒๕๑๖ มีผู้้้เชิี�ยวชิาญหลายสาขาร่วมการสัมมนัา ค้วามเห็นันัี�ถือได็้ว่ามี
รายละเอียด็มากที�สุด็ที�ศาสต่ราจารย์ ด็ร.ประเสริฐ ณ นัค้ร อด็ีต่นัายกราชิบัณฑิิต่ยสถานั อธิบาย
ให้ค้วามหมาย มากกว่าค้ำาอธิบายของท่านัในัที�อื�นั เชิ่นั ประชุมจารึกภาคที� ๘ จารึกสำุโขีทัย ว่า “ไพร่ฟ้้า
ข้าไท ประชิาชินั บริวาร หมายถึง บริวารของล้กเจ้าล้กขุนั เป็นัผู้้้สังกัด็ในักรมกองต่่าง ๆ มิใชิ่
ข้าทาส” (กรมศิลปากร, ๒๕๔๘ : ๕๘๕) หรือในังานัของท่านัโด็ยต่รง ค้ือ การอธิบายศิลาจารึก
สมัยสุโขทัย ในัฐานัะกิต่ต่ิเมธีประจำาสาขาวิชิาศิลปศาสต่ร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราชิ ที�ให้
ค้วามหมายว่า “ประชิาชินัพลเมืองบริวาร” (ประเสริฐ ณ นัค้ร, ๒๕๔๗ : ๘๑)