Page 175 - 47-2
P. 175
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 165
มาต่รา ๑ ไม่ปรากฏปี เป็นัพระไอยการทาษอีกฉบับหนัึ�ง ระบุว่า
“ฝ้งทวยราษฎรเอาค้นัมาขายฝากไว้แก่ท่านัก็ด็ี แลก้้เงินัท่านัให้ข้าค้นัเข้าใชิ้ประจำาเชิิงกระยา
ด็อกเบี�ย... แลมันัผู้้้ทาษนัั�นัทำาให้ทรัพยสิ�งของแต่กหักเสียหาย” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๖๙)
มาต่รา ๔ “ขายค้นัแก่กันั...แลผู้้้ขายมิได็้ส่งทาษแก่ผู้้้ไถ่ เอาค้นันัั�นัไว้ผู้้กด็อกเบี�ยก็ด็ี ส่งต่ัวข้า
แล้วจ้างวานัไปใชิ้ก็ด็ี...” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๖๙)
มาต่รา ๖ “แลมีผู้้้ว่ากล่าวว่าเปนัข้าค้นัผู้้กกระยาด็อกเบี�ยมาแลมันัหนัีมาก็ด็ี...พิจารณา
เปนัสัจว่าเปนัข้าค้นัท่านัจริง...ท่านัให้เอาต่ัวผู้้้ทาษนัั�นั...” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๗๐)
มาต่รา ๒ ไม่ปรากฏปี เป็นัพระไอยการทาษอีกฉบับหนัึ�ง ระบุว่า “ขายข้าค้นัล้กเจ้าต่นัขาด็
ค้่าแก่ท่านัแล้ว...” (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๗๑)
มาต่รา ๕ “…เอาล้กหลานัแลข้าค้นัเขาขายฝากไว้นัั�นัไปขาย...หญิงทาษนัั�นัมีล้ก...”
(ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๗๑)
ยังมีการใชิ้ค้ำา ข้า และ ทาษ ในัมาต่ราเด็ียวกันั เชิ่นั ในัมาต่รา ๒๔ พระไอยการทาษปี
มหาศักราชิ ๑๓๘๗ (พ.ศ. ๒๐๐๘) ในัมาต่รา ๑ ฉบับปีมหาศักราชิ ๑๕๕๗ (พ.ศ. ๒๑๗๘) และยังมีการใชิ้
ค้ำาว่า “ไพร่ฟ้้าทาษไท” แทนัค้ำาว่า “ไพร่ฟ้้าข้าไท” ต่ามจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหงด็้วย อีกทั�งใชิ้ค้ำาว่า
“ไพร่ฟ้้าข้าค้นั” ในัข้อค้วามเด็ียวกันั (ราชิบัณฑิิต่ยสถานั, ๒๕๕๐ (๑) : ๘๗๓) (พระราชิปรารภของ
พระไอยการทาษ ปีมหาศักราชิ ๑๓๘๗/พ.ศ. ๒๐๐๘) ซื้ึ�งแสด็งให้เห็นัค้วามหมายของค้ำาว่า ข้า และ
ทาษ ว่าเป็นัอย่างเด็ียวกันั
นัอกจากนัี�ยังปรากฏค้ำาว่า ข้า ข้าค้นั รวมทั�ง ไพร่ฟ้้าข้าค้นั ในัมาต่ราที�เกี�ยวกับทาสในั
พระไอยการอื�นั ๆ เชิ่นั ลักษณะผู้ัวเมีย ลักษณะเบ็ด็เสร็จ ลักษณะลักภา ด็้วย และใชิ้ในัค้วามหมาย
เด็ียวกันักับพระไอยการทาษที�กล่าวมาแล้ว
คำาวุ่า ข้า และ ทาษ ในสมััยริัตนโกสินทริ์
เมื�อเริ�มสมัยรัต่นัโกสินัทร์ในั พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็็จพระพุทธยอด็ฟ้้าจุฬาโลก
มหาราชิทรงประกาศใชิ้กฎหมายใหม่ ซื้ึ�งเรียกว่า พระราชิกำาหนัด็ใหม่ หลายฉบับ เพื�อจัด็ระเบียบ
การปกค้รองบ้านัเมืองให้เข้าส้่ภาวะปรกต่ิ หลังจากทำาสงค้รามยืด็เยื�อมาหลายปีต่ั�งแต่่สมัยธนับุรี
(พ.ศ. ๒๓๑๐-๒๓๒๕) ปรากฏว่า มีการใชิ้ค้ำาว่า ข้า ร่วมกับค้ำาว่า ทาษ ในัมาต่ราเด็ียวกันั แม้ส่วนัใหญ่
จะใชิ้ค้ำาว่า ทาษ ซื้ึ�งใชิ้มาต่ลอด็สมัยอยุธยา ซื้ึ�งเป็นัการแสด็งให้เห็นัว่า ค้ำาว่า ข้า และ ทาษ
มีค้วามหมายเหมือนักันั ด็ังปรากฏในัพระราชิกำาหนัด็ใหม่ ฉบับที� ๑๙ ประกาศใชิ้เมื�อวันัที� ๑๕ สิงหาค้ม
พ.ศ. ๒๓๒๘ ค้วามว่า