Page 167 - 47-2
P. 167
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 157
ทาสในสมััยสุโขทัย ไมั่มัีจริิงหริือ
๑
ริองศาสตริาจาริย์วุุฒิิชััย มัูลศิลป์์
๒
ราชบััณฑิิต สำำานัักธรรมศาสำตร์และการเมือง
ราชบััณฑิิตยสำภา
บทคััดย่่อ
นัับแต่่สมเด็็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ทรงแปลจารึกวัด็ป่า
มะม่วงภาษาเขมรเป็นัภาษาไทย พร้อมด็้วยล่ามเขมรอ่านัและแปล และพิมพ์ในั วชิิรญาณ
รายเด็ือนั พ.ศ. ๒๔๒๗ ว่า สุโขทัยไม่มีทาสหรือทาษ ประกอบกับการค้้นัพบศิลาจารึกสมัย
สุโขทัยยังมีนั้อย จึงทำาให้มีค้วามเชิื�อด็ังกล่าวต่่อมา แต่่ในัปัจจุบันัมีการพบและแปลข้อค้วาม
ในัศิลาจารึกมากขึ�นั และพบข้อค้วามว่ามีการซื้ื�อขายค้นัและสัต่ว์ปล่อย, การกวาด็ต่้อนัเชิลยศึก,
การอุทิศค้นัและสัต่ว์ แด็่พระพุทธศาสนัา จึงทำาให้มีการเปลี�ยนัแปลงค้วามเชิื�อว่า ข้า ข้าค้นั
ไพร่ฟ้้าข้าไท ในัศิลาจารึกก็ค้ือ ทาส หรือมีค้วามหมายอย่างเด็ียวกับค้นัที�เป็นัทาส ค้ือเป็นั
สมบัต่ิของบุค้ค้ลผู้้้เป็นันัาย
คัำ�สำำ�คััญ : ข้า ทาส จารึก สมัยสุโขทัย
Abstract: There are no slaves in the Sukhothai period?
Associate Professor Wutdichai Moolsilpa
Fellow of The Academy of Moral and Political Sciences,
The Royal Society of Thailand
Since the Khmer Inscription of Pamamuang Temple was translated into
Thai by Somdet Phra Maha Samana Chao Kromma Phraya Pavares Variyalongkorn,
along with the Khmer translator. The passage, which claimed that there are no
๑ ปรับปรุงจากที�เสนัอต่่อที�ประชิุมค้ณะกรรมการชิำาระประวัต่ิศาสต่ร์ไทย กรมศิลปากร เมื�อวันัที� ๒๗ มกราค้ม พ.ศ. ๒๕๖๕ และ
ที�ประชิุมสำานัักธรรมศาสต่ร์และการเมือง ราชิบัณฑิิต่ยสภา เมื�อวันัที� ๒๓ กุมภาพันัธ์ พ.ศ. ๒๕๖๕
๒ ประธานัค้ณะกรรมการชิำาระประวัต่ิศาสต่ร์ไทย
ขอขอบคุ้ณกรรมการศึกษาและพัฒนัาค้วามร้้ประวัต่ิศาสต่ร์ไทย ในัสำานัักธรรมศาสต่ร์และการเมือง ที�ร่วมแสด็งค้วามค้ิด็เห็นัในั
ประเด็็นันัี� และรองศาสต่ราจารย์ ด็ร.ศิริพร ด็าบเพชิร ที�ชิ่วยค้้นัค้ว้าข้อม้ล