Page 169 - 47-2
P. 169
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
รองศาสตราจารย์์วุุฒิิชััย์ มููลศิลป์์ 159
“ประชาราษฎรเป็นัสำุขีสำโมสำรประชุมในัเมืองนัั�นั ฝู้งราษฎรมิได้เป็นัทาสำ
ทาสำา หามิได้ เป็นัไทยพลเรือนัทั�งสำิ�นั เป็นัสำุโขีทั�งเมือง เหตุดังนัั�นั นัามเมืองจึง
ปรากฏว่าเมืองสำุโขีทัย...” (กรมศิลปากร, ๒๕๔๔ : ๒๙๑)
ศิลาจารึกหลักนัี� พระบาทสมเด็็จพระจอมเกล้าเจ้าอย้่หัวเมื�อยังทรงพระผู้นัวชิอย้่ ทรงพบ
เมื�อ พ.ศ. ๒๓๗๖ ที�เมืองสุโขทัย พร้อมกับพระแท่นัมนัังศิลาบาต่ร (มนัังษีลาบาต่ร) และศิลาจารึก
พ่อขุนัรามค้ำาแหงมหาราชิ หรือที�เรียกกันัทั�วไปว่า ศิลาจารึกหลักที� ๑ ข้อค้วามที�สมเด็็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงนัิพนัธ์แปล อาจมาจากศิลาจารึกวัด็ป่ามะม่วงทั�งหมด็ที�ยังสมบ้รณ์ด็ี
หรืออย่างไร เพราะศิลาจารึกหลักนัี�ในัปัจจุบันัพบว่ามีข้อค้วามขาด็หายไปมาก ไม่สมบ้รณ์ แม้ว่าในั
ภายหลังได็้พบศิลาจารึกวัด็ป่ามะม่วงที�เป็นัภาษาไทยเมื�อ พ.ศ. ๒๔๔๘ โด็ยพระยาโบราณราชิธานัินัทร์
(พร เด็ชิะคุ้ปต่์) ที�วัด็ใหม่ (ปราสาททอง) อำาเภอนัค้รหลวง จังหวัด็พระนัค้รศรีอยุธยา ซื้ึ�งนั่าจะมีข้อค้วาม
ต่รงกับหลักภาษาเขมร แต่่ก็ชิำารุด็ไม่สมบ้รณ์เชิ่นักันั
ด็ังนัั�นั จึงเป็นัไปได็้มากว่า พระนัิพนัธ์แปลของสมเด็็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยา
ปวเรศวริยาลงกรณ์ ที�แปลได็้อย่างสละสลวย ได็้เป็นัฐานัค้วามร้้ที�สำาค้ัญเกี�ยวกับเรื�องทาสสมัยสุโขทัย
ว่า ไม่มีทาส ประกอบกับค้ำาแปล “ไพร่ฟ้้าข้าไท” ที�ปรากฏในัศิลาจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหง ที�มีค้วามเห็นั
แต่กต่่างกันั (ซื้ึ�งจะได็้กล่าวต่่อไป) และไม่มีค้ำาว่า ทาส ในัศิลาจารึกหลักอื�นั ๆ ที�ค้้นัพบในัเวลาต่่อมา
โด็ยมีแต่่ค้ำาว่า “ข้า” จึงทำาให้ค้วามเชิื�อว่าสุโขทัยไม่มีทาส เป็นัที�ยอมรับอย่างมั�นัค้งต่่อมา
ก่อนัที�จะกล่าวเรื�อง ข้าและทาสจึงค้วรพิจารณาค้วามหมายของค้ำาทั�งสองก่อนั
ควุามัหมัายของคำาวุ่า ข้า และ ทาส (เดิิมัเขียนวุ่า ทาษ)
หนัังสือ พจนัานัุกรม (ร.ศ. ๑๒๐) ฉบับกรมศึกษาธิการ ให้ค้วามหมายไว้ว่า “ข้า เสนัา, อำามาต่ย์,
ค้นัใชิ้, ต่้, เรา, ฉันั” (กรมวิชิาการ, ๒๕๔๑ : ๓๗) และ “ทาส ค้นัใชิ้, บ่าวชิาย” “ทาสี หญิงค้นัใชิ้,
บ่าวหญิง” (กรมวิชิาการ, ๒๕๔๑ : ๑๕๑)
หนัังสือ ปทานัุกรม บัาลี ไทย อังกฤษ สำันัสำกฤต ฉบับพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระจันัทบุรี
นัฤนัาถ (หนั้า ๓๕๘) ให้ค้วามหมาย ค้ำาว่า “ทาสี หญิงบ่าว, ทาโส ชิายบ่าว, ทาส, บ่าว”
พจนัานัุกรมโบัราณศัพท์ ฉบัับัราชบััณฑิิตยสำภา ให้ค้วามหมายค้ำาว่า “ข้า” ว่า “บ่าวไพร่,
ค้นัรับใชิ้” โด็ยอ้างข้อค้วามจากศิลาจารึกพ่อขุนัรามค้ำาแหงมหาราชิ (สำานัักงานัราชิบัณฑิิต่ยสภา,
๒๕๖๓ : ๔๕)