Page 168 - 47-2
P. 168

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม–สิิงหาคม ๒๕๖๕
           158                                                            ทาสในสมััยสุโขทัย  ไมั่มัีจริิงหริือ



                        slaves in the Sukhothai period, was published in the Vajirayana in 1884.
                        This proposal had been continuously accepted. However, today many inscriptions
                        have been discovered and translated. There are information about buying
                        and freeing people and animals, forcing prisoners of war, and devoting persons
                        and animals to Buddhist temples. These passages have changed the old
                        knowledge of no slavery in the Sukhothai period and accepted that “Kha”,
                        “Kha khon”, and “Phraifa Khathai” in the inscriptions mean “slave” which is
                        a person who is the property of another.

                        Keywords: “Kha”, Slave, Inscription, Sukhothai Period



                    “เมื�อมีความเหนัอย่างไร เขีียนัลงไว้...แสำดงความเหนัหลักถานัลงไว้ สำำาหรับัผู้้้อื�นัจะได้เหนั

           แลตริตรองตามเมื�อเขีาเหนัขี้อความเปนัอย่างอื�นั มีหลักถานัดีกว่า...เราควรจะยอมด้วยความยินัดี”
           (สำานัักหอจด็หมายเหตุ่แห่งชิาต่ิ, ๒๔๕๐)

                                              (พระราชิด็ำารัสในัพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย้่หัว
                               ทรงจัด็ต่ั�งสมาค้มสืบสวนัของบุราณในัประเทศสยาม ๒๙ ธันัวาค้ม ร.ศ. ๑๒๖)


                    การศึกษาประวัต่ิศาสต่ร์ในัไทยเริ�มมีการศึกษาแบบใหม่ที�แต่กต่่างจากแบบเก่าค้ือในัร้ปแบบ
           พระราชิพงศาวด็าร เมื�อพระบาทสมเด็็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอย้่หัวทรงจัด็ต่ั�งสมาค้มสืบสวนัของบุราณ

           หรือโบราณค้ด็ีสโมสรเมื�อ ร.ศ. ๑๒๖ (พ.ศ. ๒๔๕๐) ทำาให้ค้วามร้้ประวัต่ิศาสต่ร์ไทยก้าวหนั้ามาเป็นัลำาด็ับ
           มีการเปลี�ยนัแปลงค้วามเชิื�อเด็ิมโด็ยการใชิ้หลักฐานัใหม่ ๆ ที�ค้้นัพบ แต่กต่่างจากที�เค้ยเล่าเรียนัมา เชิ่นั

           เรื�องพ่อขุนัรามค้ำาแหงมหาราชิเสด็็จไปเมืองจีนั ปัจจุบันัมีหลักฐานัว่าไม่ได็้เสด็็จไป เรื�องที�จะกล่าวต่่อไปนัี�
           ก็นั่าจะมีค้วามเห็นัและค้วามเชิื�อเป็นัอย่างอื�นัจากที�เค้ยเรียนัหรือที�เค้ยเชิื�อกันัมา


           ควุามัเชัื�อเดิิมัเริื�องทาสสมััยสุโขทัย
                    มีค้วามเชิื�อกันัมานัานัแล้วว่าสมัยสุโขทัย (พ.ศ. ๑๗๙๒-๒๐๐๖) ไม่มีทาส ค้วามเชิื�อเรื�องนัี�

           นั่าจะเริ�มจากพระนัิพนัธ์ค้ำาแปลจารึกวัด็ป่ามะม่วง ภาษาเขมร พ.ศ. ๑๙๐๔ ของสมเด็็จพระมหาสมณเจ้า
           กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ พร้อมด็้วยล่ามเขมรอ่านัและแปล ต่่อมาพิมพ์เผู้ยแพร่ค้รั�งแรกในั

           หนัังสือพิมพ์วชิิรญาณรายเด็ือนั เล่ม ๑ ฉบับที� ๓ จ.ศ. ๑๒๔๖ (พ.ศ. ๒๔๒๗) ว่า
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173