Page 78 - 22-0320 ebook
P. 78
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๗ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๕
70 ศััพทมููลของคำำ�ว่่�กั้ั�นหยั่ั�น
เสียงพยัญชื่นะต้�นของพยางคำ์หน�า
เสียงระเบี่ิดิ ไมี่ก�อง มู่ลมู เกิดิที่ี�เพดิานอ่อน (voiceless aspirated velar plosive)
กลายมีาเป็็น เสียงระเบี่ิดิ ไมี่ก�อง ไมู่มู่ลมู เกิดิที่ี�เดิียว่กัน (voiceless unaspirated velar plosive)
kh- /kh-/ > ก- /k-/
เสียงพยัญชื่นะต้�นของพยางคำ์หลัง
เส่ยั่งกั้ักั้เส่ยั่ดีแทรกั้ ก�อง เกิดิที่ี�เพดิานแข็ง (voiced palatal affricate) กลายมีาเป็็น
เส่ยั่งเปิดี ก�อง เกิดิที่ี�เดิียว่กัน (voiced palatal approximant)
j- /dʒ-/ > ย- /j-/
เสียงพยัญชื่นะที่�ายของพยางคำ์หน�า /-n/ ไมี่มีีการเป็ลี�ยนแป็ลง คำ่อ เป็็นเสียงนาสิก ก�อง
เกิดิที่ี�ป็ุ่มีเหง่อก (voiced alveolar nasal)
เสียงพยัญชื่นะที่�ายของพยางคำ์หลัง
เส่ยั่งลิ�นกั้ระทบ ก�อง เกิดิที่ี�ป็ุมีเหง่อก (voiced alveolar tap) กลายมีาเป็็นเส่ยั่งน�สิกั้
ก�อง เกิดิที่ี�เดิียว่กัน (voiced alveolar nasal)
-r /-ɾ/ > -น /n-/
เสียงสระ /a/ ไมี่มีีการเป็ลี�ยนแป็ลง คำ่อ เป็็นเสียงสระกลางต้ำ�า (central low vowel)
ดิังนั�น คำำาภาษาเป็อร์เซีย khanjar (رجنخ) /khandʒaɾ/ จ่งกลายมีาเป็็นคำำาภาษาไที่ย
กั�นหยั�น /kânjàn/ อย่างไรก็ต้ามี ก็เคำยมีีผู้้�สันนิษฐานไว่�ที่ำานองนี�บี่�าง แมี�จะไมี่ต้�องกันกับี่ข�อสันนิษฐาน
ของผู้้�ว่ิจัยเสียที่ีเดิียว่ก็ต้ามี กล่าว่คำ่อ สุนันที่์ อัญชื่ลีนุก้ล (๒๕๒๗ : ๑๙๘) และผู้่าน ว่งษ์อ�ว่น (มี.ป็.ป็. :
๘๔) สันนิษฐานว่่า กั�นหยั�น มีาจากคำำาภาษาอาหรับี่ khanjar อันที่ี�จริง khanjar เป็็นอาวุ่ธของเป็อร์เซีย
จ่งคำว่รเป็็นคำำาภาษาเป็อร์เซีย Moshtagh Khorasani (2006: 219) ให�ข�อมี้ลว่่าคำำาเป็อร์เซีย khanjar
พบี่คำรั�งแรกในเอกสารต้ัว่เขียน Hossein Kord–e Shabestari ของเป็อร์เซียซ่�งจารต้ั�งแต้่รัชื่สมีัย
พระเจ�า Shah Abbas Safavid หร่อพระเจ�า Abbas มีหาราชื่ (คำ.ศั. 1588–1629) ภายหลัง khanjar
ของเป็อร์เซียไดิ�แพร่เข�าไป็ในดิินแดินอาหรับี่ คำำานี�จ่งไมี่ใชื่่คำำาอาหรับี่แที่�
๔. ลักั้ษณะ khanjar (رجنخ) ของเปอร์เซี่ยั่ร์กั้ับกั้ั�นหยั่ั�นของไทยั่
khanjar (رجنخ) หร่อกั�นหยั�นของเป็อร์เซียเป็็นมีีดิสั�น ๒ คำมี ป็ลายแหลมี ส่ว่นมีาก
ป็ลายงอนเล็กน�อย ดิังภาพที่ี� ๑