Page 91 - 46-1
P. 91
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
นางสาวกนกวลีี ชููชูัยยะ 83
กรมพระย์าดำารงราชานุภาพ) เป็นสภานาย์ก สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้้ากรมพระนริศรานุวัด
ติวงศ์ เป็นอุปนาย์กแผู้นกศิลัปากร พระราชวรวงศ์เธอ กรมหมื�นพิทย์าลังกรณ์ เป็นอุปนาย์กแผู้นก
วรรณคัด่ พระย์าโบราณราชธานินทร์ (พร เดชะคัุปต์) เป็นอุปนาย์กแผู้นกโบราณคัด่ หม่อมเจ้า
ภักด่นารถึ เป็นกรรมการ พระวรวงศ์เธอ พระองคั์เจ้าธาน่นิวัต เป็นกรรมการ แลัะเจ้าพระย์าธรรมศักดิ�
มนตร่ (สนั�น เทพหัสดิน) เป็นกรรมการ (ราชกิจจานุเบกษัา, ๒๔๖๙ : ๑๐๕-๑๐๖) การแต่งตั�ง
กรรมการของราชบัณฑิิตย์สภานั�น พระบาทสมเด็จพระปกเกลั้าเจ้าอย์้่หัวได้ “ทรงเลือกสรรโดั่ยถือ
คีวามสามารถมิใชิ�ทรงเลือกตามยศของผิ่้นัั�นั” แลัะกรรมการของราชบัณฑิิตย์สภาก็ไม่ได้รับ
ผู้ลัประโย์ชน์อันใด “การที�ทำาเป็นัการทำาให้แก�บั้านัเมือง ทำาเฉลิมพระเกียรติยศพระบัาทสมเดั่็จ้
พระเจ้้าอย่�หัว และมุ�งหวังประโยชินั์ให้แก�ประชิาชินั” (ราย์งานการประชุมกรรมการราชบัณฑิิตย์สภา,
๒๔๗๔) การดำาเนินงานของราชบัณฑิิตย์สภาทางด้านวิชาการซึ่ึ�งกรรมการเห็นว่า “การงานัที�สภา
ทำาอย่�ทุกวันันัี�นัับัว�าเปนัการกุศลโดั่ยส�วนัเดั่ียว ดั่้วยไม�เปนัโทษีแก�ใคีรมีแต�เปนัประโยชินั์แก�บั้านัเมือง
แก�สาสนัา และแก�ประชิาชินัจ้่งนัับัว�าเปนัการกุศล” (การประชุมกรรมการราชบัณฑิิตย์สภา, ๒๔๗๐)
งานสำาคััญงานหนึ�งท่�โปรดเกลั้าฯ ให้เป็นหน้าท่�ของราชบัณฑิิตย์สภาคัือ การคััดเลัือกผู้้้สมคัวรได้รับ
พระราชทานเหร่ย์ญดุษัฎ่มาลัาเข็มศิลัปวิทย์า โดย์กระทรวงต่าง ๆ คััดเลัือกมาแลั้ว เสนาบด่จะส่งให้
ราชบัณฑิิตย์สภาพิจารณาว่า “วิธีการเลือกสรรและคีุณวิเศษีของผิ่้ที�ไดั่้รับัเลือกนัั�นั เข้าระเบัียบัเทียบัทันั
กับักระทรวงอื�นัหรือยัง ถ้าราชิบััณฑิิตยสภาพิจ้ารณาเห็นัว�ายังบักพร�องไม�ถ่งขนัาดั่ซึ่่�งสมคีวรจ้ะไดั่้รับั
พระราชิทานัเหรียญดัุ่ษีฎีมาลาเข็มศิลปวิทยาก็คีัดั่คี้านัไดั่้ ถ้าราชิบััณฑิิตยสภาพิจ้ารณาเห็นัชิอบัก็ให้
อนัุมัติไปยังเสนัาบัดั่ีกระทรวงเป็นัอันัเสร็จ้กระบัวนัการเลือกสรร เสนัาบัดั่ีนัำาคีวามกราบับัังคีมท่ลฯ
เสนัอคีวามชิอบัผิ่้ทรงคีุณวิเศษีนัั�นัไดั่้” [เสถึ่ย์ร ลัาย์ลัักษัณ์ แลัะคันอื�น (ผู้้้รวบรวม), ๒๔๗๘ : ๓๐๖-๓๐๙]
ทั�งน่�แม้ในรัชสมัย์ของพระองคั์ย์ังไม่ม่การ “ตั�งผิ่้รอบัร่้เป็นัราชิบััณฑิิตย (Academician)” (สำานัก
หอจดหมาย์เหตุแห่งชาติ, ๒๔๖๙) แต่ก็เป็นจุดเริ�มต้นของพัฒนาการของราชบัณฑิิตย์สภาในปัจจุบัน
ประพฤติธรรมประการท่� ๓ คัือ “ปรม่ลมาซึ่่�งพระราชิทรัพยโดั่ยยุติธรรม” เมื�อเกิดภาวะ
เศรษัฐกิจตกตำ�าทั�วโลักอันส่งผู้ลักระทบถึึงประเทศไทย์ในรัชสมัย์พระบาทสมเด็จพระปกเกลั้าเจ้าอย์้่หัว
การรวบรวมพระราชทรัพย์์โดย์การเก็บภาษั่ประเภทต่าง ๆ จากราษัฎรไม่อาจกระทำาได้ผู้ลัเช่นย์าม
ปรกติ ทำาให้งบประมาณของแผู้่นดินไม่พอใช้ ใน พ.ศ. ๒๔๖๗ ถึึงต้องก้้เงินต่างประเทศมาใช้จ่าย์
แต่ภาวะทางเศรษัฐกิจก็ไม่ด่ขึ�น ในการจัดทำางบประมาณ พ.ศ. ๒๔๖๙ งบประมาณขาดมากอย์่างท่�
กลั่าวกันว่าขาดดุลังบประมาณ รัฐบาลัต้องตัดราย์จ่าย์ลังหลัาย์ประการ เช่น ต้องย์กเลัิกตำาแหน่ง