Page 94 - 46-1
P. 94

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           86                                       พระมหากษััตริย์์ไทย์กับประพฤติธรรม ๔ ประการในพระธรรมศาสตร์


                    ซึ่่�งเป็นัคีวามจ้ริง...อันัที�จ้ริงเจ้้านัายในัพระราชิวงศ์จ้ักรีทุกพระองคี์ย�อมถือว�า

                    เปนัหนั้าที�ของพระองคี์ที�จ้ะทำาอะไรให้เปนัประโยชินั์แก�บั้านัเมือง... (คัณะกรรมการ

                    ชำาระประวัติศาสตร์ไทย์แลัะจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์แลัะโบราณคัด่,
                    ๒๕๓๖ : ๒๖๒)


                    ในช่วงเวลัานั�นปรากฏิในข่าวหนังสือพิมพ์ไทย์ใหม่ วันพุธท่� ๓๑ พฤษัภาคัม พ.ศ. ๒๔๗๖
           เรื�อง พระราชดำารัสตอบราษัฎรจังหวัดลัพบุร่ ซึ่ึ�งตามข่าวดังกลั่าวได้แสดงคัวามคัิดเห็นเก่�ย์วกับนำ�า
           พระราชหฤทัย์ของพระมหากษััตริย์์ต่อประชาชนแลัะประเทศชาติไว้ว่า “การเปลี�ยนัแปลงการปกคีรอง

           เข้าระบัอบัใหม�นัั�นั อาจ้เปลี�ยนัแปลงอย�างอื�นั ๆ ไดั่้ เว้นัแต�อย�างเดั่ียวคีือไม�มีใคีรจ้ะสามารถตัดั่

           สายสัมพันัธ์ระหว�างพระบัาทสมเดั่็จ้พระเจ้้าอย่�หัวกับัราษีฎรให้ขาดั่ออกไป  ทั�งนัี� เพราะราษีฎรถือว�า
           แม้พระบัาทสมเดั่็จ้พระเจ้้าอย่�หัวจ้ะทรงอย่�ในัฐานัะอย�างไรก็ตาม พระองคี์ยังทรงเป็นัพระบัิดั่า
           อย่�เสมอ” (คัณะกรรมการชำาระประวัติศาสตร์ไทย์แลัะจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์แลัะ

           โบราณคัด่, ๒๕๓๖ : ๒๖๖)

                    แนวพระราชดำาริในการปกคัรองให้ราษัฎรม่คัวามสุขเกษัมโดย์ย์ุติธรรมนั�น แม้เมื�อทรงสลัะ
           พระราชอำานาจแลัะทรงย์อมอย์้่ภาย์ใต้รัฐธรรมน้ญแลั้ว แต่เมื�อปรากฏิว่าการปกคัรองแบบใหม่ผู้้้ม่
           อำานาจมิได้ฟ้ังเส่ย์งอันแท้จริงของราษัฎร ทรงเห็นว่าไม่อาจปกคัรองให้ราษัฎรม่คัวามสุขโดย์ย์ุติธรรมได้

           จึงม่พระราชหัตถึเลัขาระบุเหตุผู้ลัอันชัดแจ้งท่�ทรงสลัะราชสมบัติ เมื�อวันท่� ๒ ม่นาคัม พ.ศ. ๒๔๗๗ ว่า

           “ข้าพจ้้ามีคีวามเต็มใจ้ที�จ้ะสละอำานัาจ้อันัเปนัของข้าพเจ้้าอย่�แต�เดั่ิมให้แก�ราษีฎรโดั่ยทั�วไป แต�ข้าพเจ้้า
           ไม�ยินัยอมยกอำานัาจ้ทั�งหลายของข้าพเจ้้าให้แก�ผิ่้ใดั่ คีณะใดั่ โดั่ยเฉพาะเพื�อใชิ้อำานัาจ้นัั�นัโดั่ยสิทธิขาดั่
           และโดั่ยไม�ฟังเสียงอันัแท้จ้ริงของประชิาราษีฎร” (คัณะกรรมการชำาระประวัติศาสตร์ไทย์แลัะจัดพิมพ์

           เอกสารทางประวัติศาสตร์แลัะโบราณคัด่, ๒๕๓๖ : ๓๖๙)

                    พระย์าศร่สารวาจา (เท่ย์นเลั่�ย์ง ฮุุนตระก้ลั) อด่ตองคัมนตร่ ม่คัวามเห็นเก่�ย์วกับพระราช-
           อำานาจแลัะพระราชกรณ่ย์กิจของพระมหากษััตริย์์ภาย์ใต้ในรัฐธรรมน้ญไว้ว่า


                    ...แต�พระราชิประเพณีเกี�ยวกับัตำาแหนั�งหนั้าที�ของพระมหากษีัตริย์ยังคีง
                    ดั่ำารงอย่� พระมหากษีัตริย์ของเรายังคีงทรงรักษีาไว้ซึ่่�งทศพิธราชิธรรม และ
                    ประพฤทธิธรรมข้างต้นันัั�นั เพราะว�าที�แท้แล้วธรรมะเหล�านัี�เป็นัหลักไชิยของ

                    การปกคีรองที�ดั่ี อันัวัตถุประสงคี์ของการปกคีรองทั�งหลายก็เพื�อจ้ะประสาท

                    คีวามสุข และคีวามร�มเย็นัแก�อาณาประชิาราษีฏร์ รัฐบัาลใดั่ปกคีรองไดั่้ผิล
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99