Page 35 - 46-1
P. 35

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                          ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
             นายกฤษฎา บุุณยสมิิต                                                             27


             ย่อมสำาเร็จได้โดยตลอด” คุณสมบ้ต่ิเฉัพิาะขุองผ่่้ร้บผ่ิดีชอบการเงินการคล้งขุองป็ระเทศึ คือ คาถาที� ๑๑

             ว่า “ข้าเฝ้้าผู้่้เกิดในัตระก่ลซื่ื�อตรง ฝ้ึกฝ้นัชิำานัิชิำานัาญการเงินั ร่้จักรัตนัะทุกชินัิด มีกรรมสะอาด

             ไม่เคียพลั�งพลาด เป็นัผู้่้ดี พระเจ้าอย่่หััวคีวรทรงตั�งข้าเฝ้้าเชิ่นันัี�เป็นันัายคีลัง” หรือคุณสมบ้ต่ิเฉัพิาะขุอง
             ผ่่้พิึงไดี้ร้บการแต่่งต่้�งให้เป็็นผ่่้พิิพิากษาตุ่ลาการอย่่ในคาถาที� ๑๐ ว่า “ข้าเฝ้้าผู้่้มีคีุณสมบััติคีือ มีตระก่ล
             และศีลาจารวัตร มีสัตย์ มีธรรม มีปัญญาดี มีศีลดี มีหัลักดี เป็นัคีนัขยันั พระเจ้าอย่่หััวคีวรทรงตั�ง

             บัุคีคีลเชิ่นันัี�ไว้ในัตำาแหันั่งผู้่้พิพากษา” (พิราหมณ์อน้นต่ญาณและพิราหมณ์คณามิสสกะ, ๒๕๐๘ :

             ๓-๗)
                     สำาหร้บหล้กฐานต่ามกฎหมายเก่าฉับ้บสำาค้ญ  คือ  กฎหมายต่ราสามดีวงที�ไดี้ร้บการชำาระสะสาง
             คร้�งใหญ่ในร้ชสม้ยพิระบาทสมเดี็จพิระพิุทธยอดีฟ้้าจุฬาโลกมหาราช ป็ฐมกษ้ต่ริย์แห่งมหาจ้กรี

             บรมราชวงศึ์ ซึ่ึ�งถือว่าเป็็นป็ระมวลกฎหมายฉับ้บแรกแห่งสม้ยร้ต่นโกสินทร์ กฎหมายต่ราสามดีวง

             ป็ระกาศึใช้เมื�อว้นที� ๓๑ มกราคม พิ.ศึ. ๒๓๔๗  ป็ระกอบดี้วยพิระอ้ยการฉับ้บต่่าง ๆ รวม ๒๘ ฉับ้บ
                                                    ๒
             ซึ่ึ�งใช้เป็็นหล้กในการบริหารราชการบ้านเมืองและพิิจารณาพิิพิากษาอรรถคดีีต่่าง ๆ เรื�อยมา
             จนกระท้�งมีการป็ฏิิร่ป็การบริหารราชการแผ่่นดีิน  ระบบกฎหมายและการศึาลในร้ชสม้ยพิระบาทสมเดี็จ

             พิระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่่ห้วดี้งกล่าวมาแล้ว หล้กเกณฑ์์ในกฎหมายเก่าเกี�ยวก้บการกำาหนดีต่ำาแหน่ง

             ต่่าง ๆ ขุองขุุนนางหรือขุ้าราชการฝ่่ายทหารและฝ่่ายพิลเรือนน้�น ถ่กกำาหนดีไว้ในพิระอ้ยการ ๒ ฉับ้บ
             ซึ่ึ�งเป็็นกฎหมายเก่าคร้�งกรุงศึรีอยุธยาและไดี้ร้บการชำาระและรวมไว้ในกฎหมายต่ราสามดีวง คือ
             พิระอ้ยการต่ำาแหน่งนาพิลเรือน และพิระอ้ยการต่ำาแหน่งนาทหารห้วเมือง ซึ่ึ�งต่ามศึ้กราชกฎหมาย

             ระบุว่าต่ราขุึ�น เมื�อ “ศุภมัศดุ ๑๒๙๘ สุนัักขสังวัจฉระกาลปักษยทัศมีดฤษถีอาทิตยวาร” ต่รงก้บ

             พิ.ศึ. ๑๙๑๙ ซึ่ึ�งอย่่ในร้ชสม้ยสมเดี็จพิระบรมราชาธิราชที� ๑ (ขุุนหลวงพิะง้�ว) (ครองราชย์ระหว่าง
                        ๓
             พิ.ศึ. ๑๙๑๓-๑๙๓๑)  การบริหารราชการแผ่่นดีินในคร้�งน้�นเป็็นการป็กครองดี้วยระบอบสมบ่รณาญา
                              ๔
             สิทธิราชย์ อำานาจนิต่ิบ้ญญ้ต่ิ อำานาจบริหาร และอำานาจตุ่ลาการจึงรวมเบ็ดีเสร็จอย่่ที�พิระมหากษ้ต่ริย์




             ๒   การน้บศึ้กราชขุองไทยแต่่เดีิมน้�น ถือว้นที� ๑ เมษายน เป็็นว้นขุึ�นป็ีใหม่ ดี้งน้�น เดีือนมกราคมจึงเป็็นช่วงป็ลายป็ีขุอง พิ.ศึ. ๒๓๔๗
               แต่่หากน้บว้นที� ๑ มกราคม เป็็นว้นขุึ�นป็ีใหม่ต่ามแบบป็ัจจุบ้น ป็ีดี้งกล่าวเป็็น พิ.ศึ. ๒๓๔๘
             ๓   หมายถึง ว้นอาทิต่ย์ แรม ๑๐ คำ�า เดีือน (ไม่ระบุ) มหาศึ้กราช ๑๒๙๘ ป็ีจอ เมื�อต่รวจสอบก้บป็ฏิิทินหลวงแล้ว มหาศึ้กราช ๑๒๙๘
               ต่รงก้บป็ีมะเมีย ศึ. ดีร.ป็ระเสริฐ ณ นคร อธิบายไว้ในการป็ระชุมคร้�งที� ๓/๒๕๖๐ ขุองคณะกรรมการชำาระและศึึกษากฎหมายไทยโบราณ
               สำาน้กงานราชบ้ณฑ์ิต่ยสภา เกี�ยวก้บการพิิจารณาศึ้กราชกฎหมายในกฎหมายเก่าที�มีความคลาดีเคลื�อนขุองป็ีน้กษ้ต่รว่า เหตุ่ที�เกิดี
               ความคลาดีเคลื�อนคือป็ีน้กษ้ต่รซึ่ึ�งควรจะลดีไป็ ๒ ป็ี เนื�องจากการลบศึ้กราชในสม้ยสมเดี็จพิระเจ้าป็ราสาททอง หากพิิจารณาต่าม
               แนวทางนี� ศึ้กราชที�ถ่กต่้องเมื�อเทียบเป็็นป็ีพิุทธศึ้กราชคือ พิ.ศึ. ๑๙๑๙ ป็ีมะโรง -ผ่่้นิพินธ์
             ๔   รายพิระนามพิระมหากษ้ต่ริย์และ พิ.ศึ. ที�ครองราชย์ ยึดีถือต่ามความเห็นคณะกรรมการชำาระป็ระว้ต่ิศึาสต่ร์ไทย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40