Page 32 - 46-1
P. 32

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           24                                              การพิิจารณาความชอบและการแต่่งต่้�งขุุนนางไทยในอดีีต่


                                  การพิิจารณาความชอบ



                          และการแต่่งต่้�งขุุนนางไทยในอดีีต่





                                                                           นายกฤษฎา บุณยสมิต่
                                                          ภาคีีสมาชิิก สำานัักธรรมศาสตร์และการเมือง

                                                                                ราชิบััณฑิิตยสภา



             บทคััดย่่อ

                              การพิิจารณาความชอบและการแต่่งต่้�งขุุนนางไทยในอดีีต่ เป็็นการศึึกษาหล้กเกณฑ์์
                        การพิิจารณาแต่่งต่้�งขุุนนางหรือขุ้าราชการ ซึ่ึ�งการป็กครองขุองไทยสม้ยโบราณ ต่้�งแต่่สถาป็นา
                        กรุงศึรีอยุธยาเป็็นราชธานีใน พิ.ศึ. ๑๘๙๓ มาจนถึงกรุงร้ต่นโกสินทร์ในร้ชสม้ยพิระบาทสมเดี็จ
                        พิระจุลจอมเกล้าเจ้าอย่่ห้ว ก่อนการป็ฏิิร่ป็การบริหารราชการแผ่่นดีินโดียต่้�งกระทรวงต่่าง ๆ
                        เป็็นแบบสม้ยใหม่น้�น ไดี้แบ่งป็ระเภทขุุนนางหรือขุ้าราชการออกเป็็น ๒ ฝ่่ายคือ ฝ่่ายทหารและ
                        ฝ่่ายพิลเรือน การพิิจารณาความดีีความชอบและแต่่งต่้�งขุุนนางหรือขุ้าราชการเพิื�อป็ฏิิบ้ต่ิราชการ
                        ต่่างพิระเนต่รพิระกรรณในหน้าที�ต่่าง ๆ  ซึ่ึ�งเป็็นพิระราชกิจสำาค้ญป็ระการหนึ�งขุองพิระมหากษ้ต่ริย์
                        พิบว่าทรงนำาหล้กธรรมในราชนีต่ิและหล้กกฎหมายในพิระราชกำาหนดีบทพิระอ้ยการต่่าง ๆ
                        ในกฎหมายต่ราสามดีวง มาป็ระกอบพิระราชวินิจฉั้ยในการแต่่งต่้�ง โดียแบ่งหล้กเกณฑ์์เป็็น ๒
                        กรณี คือ การพิิจารณาความดีีความชอบในราชการสงครามในระดี้บต่่าง ๆ ซึ่ึ�งมีผ่ลทำาให้ขุุนนาง
                        ผ่่้ป็ระกอบความดีีความชอบน้�นไดี้เลื�อนต่ำาแหน่งหน้าที�ราชการแบบขุ้ามขุ้�น และการพิิจารณา
                        ความดีีความชอบในการป็ฏิิบ้ต่ิราชการในยามป็รกต่ิซึ่ึ�งแบ่งระดี้บความดีีความชอบไว้เช่นก้น
                        นอกจากน้�น ในการพิิจารณาแต่่งต่้�งขุุนนางช้�นผ่่้ใหญ่ พิระราชกำาหนดีเก่า ฉับ้บที� ๕๐ ซึ่ึ�งเป็็น
                        กฎหมายอยุธยาไดี้กำาหนดีหล้กการในการพิิจารณาที�สำาค้ญไว้ดี้วยว่า ผ่่้จะไดี้ร้บการพิิจารณา
                        ต่้องป็ระกอบดี้วยคุณสมบ้ต่ิคือ วุฒิิ ๔ ป็ระการ ไดี้แก่ ชาต่ิวุฒิิ ว้ยวุฒิิ คุณวุฒิิ และป็ัญญาวุฒิิ

                        ท้�งต่้องป็ระกอบดี้วย อธิบดีี ๔ ป็ระการ ไดี้แก่ ฉั้นทาธิบดีี วิริยาธิบดีี จิต่าธิบดีี และวิม้งสาธิบดีี
                        การกำาหนดีหล้กเกณฑ์์ดี้งกล่าวหลายป็ระการต่ามกฎหมายเก่ามีค่าควรแก่การศึึกษา และย้งมี
                        ความท้นสม้ยสามารถนำามาเป็รียบเทียบหรืออาจป็ระยุกต่์ใช้เพิื�อพิ้ฒินาหล้กเกณฑ์์ต่่าง ๆ ที�
                        ควรถือเป็็นคุณสมบ้ต่ิสำาค้ญขุองผ่่้ควรไดี้ร้บการพิิจารณาให้ดีำารงต่ำาแหน่งขุองเจ้าหน้าที�ภาคร้ฐ
                        ในป็ัจจุบ้นไดี้เป็็นอย่างดีี
                        คัำ�สำำ�คััญ :  การพิิจารณาความชอบ การแต่่งต่้�งขุุนนาง ราชนีต่ิ ขุุนนางฝ่่ายทหาร ขุุนนาง
                                ฝ่่ายพิลเรือน วุฒิิ ๔ ป็ระการ อธิบดีี ๔ ป็ระการ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37