Page 278 - 46-1
P. 278

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           270                              พััฒนาการของงานภููมิิสถาปััตยกรรมิในพัระเมิรุมิาศจากยุคต้นสมิัยรัตนโกสินทร์ฯ


                    ๔. แนวิควิามิคิด็การวิางผัังบริเวิณีท่�เช่�อมิโยงกับบริบทท่�สำาคัญของกรุงรัตนโกสินทร์

           ชั�นใน

                      การวางผังพระเมรุมาศมีแนวค้ิดีในการเชื�อมโยงสัมพันธี์กับปูชนียสถานที�สำาค้ัญของ
           กรุงรัตนโกสินทร์ชั�นใน โดียการกำาหนดีแกนจาก ๒ แนวแกนค้ือ แนวแกนเหนือ-ใต้ แลิะตะวันออก-
           ตะวันตก จุดีตัดีของ ๒ แนวแกนค้ือที�ตั�งของอาค้ารพระเมรุมาศซึ่่�งตั�งอยู่บนจุดีตัดีของทั�ง ๒ แกนที�มี

           สัมพันธี์กับศาสนสถานที�สำาค้ัญ ดีังนี�

                      ๑)  แนวเหนือ-ใต้ สัมพันธี์กับรัตนเจดีีย์ในวัดีพระศรีรัตนศาสดีาราม
                      ๒)  แนวตะวันออก-ตะวันตก สัมพันธี์กับแนวพระวิหารวัดีมหาธีาตุยุวราชรังสฤษัฎิ�
                      จากตำาแหน่งที�ตั�งของพระเมรุมาศซึ่่�งตั�งอยู่บนจุดีตัดีของแกนนี�ค้ือจุดีเริ�มต้นของการ

           กำาหนดีพื�นที�ใช้สอยทั�งหมดี รวมทั�งเส้นทางการเชื�อมโยงแลิะการจัดีวางอาค้ารประกอบต่าง ๆ รวมทั�ง

           องค้์ประกอบภููมิทัศน์ในบริเวณมณฑลิพิธีีแลิะโดียรอบ
                      สำาหรับการเชื�อมต่อแลิะการเข้าสู่พระเมรุมาศจากพื�นที�ภูายนอกไดี้กำาหนดีให้ทางเข้า
           อยู่บนแกนกลิางที�สัมพันธี์กับแนวแกนเหนือ-ใต้แลิะตะวันออก-ตะวันตกเช่นกัน ซึ่่�งทำาให้เกิดีมุมมอง

           จากภูายนอกมองเข้าสู่พระเมรุมาศที�มีค้วามสง่างาม อธีิบายแนวค้วามค้ิดีในส่วนรายลิะเอียดีเฉพาะงาน

           ดีังนี�
                       งานภููมิิสถาปััตยกรรมิและภููมิิทัศน์
                      งานภููมิสถาปัตยกรรม ค้ือ การออกแบบแลิะการจัดีการพื�นที�ว่างที�อยู่นอกตัวอาค้าร

           เป็นการกำาหนดีการใช้สอยพื�นที�เพื�อการใช้ประโยชน์ที�เหมาะสม สัมพันธี์กันระหว่างพื�นที�กับสภูาพ

           แวดีลิ้อม สื�อถ่งวัฒนธีรรมที�เป็นเอกลิักษัณ์ การออกแบบภููมิสถาปัตยกรรมในงานพระเมรุมาศพระบาท
           สมเดี็จพระบรมชนกาธีิเบศร มหาภููมิพลิอดีุลิยเดีชมหาราช บรมนาถบพิตร มีแนวค้วามค้ิดีในการ
           ออกแบบภููมิทัศน์เพื�อแสดีงสัณฐานของจักรวาลิตามค้ติไตรภููมิแลิะแสดีงถ่งพระราชกรณียกิจสำาค้ัญ

           ของพระองค้์

                       ภููมิิทัศน์พัระเมิรุมิาศบริเวิณีด็้านทิศเหน่อนอกเขตราชวิัติ
                      การวางผังบริเวณพระเมรุมาศมีแนวค้ิดีในการวางผังพระเมรุมาศให้มีค้วามสัมพันธี์กับ
           เมือง โดียมีการวางแนวแกนพระเมรุมาศให้เชื�อมโยงกับศาสนสถานสำาค้ัญของกรุงเทพมหานค้ร

           ในเกาะกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นที�มาของการกำาหนดีแนวแกนหลิักทิศเหนือ-ใต้ในแนวเดีียวกับรัตนเจดีีย์

           วัดีพระศรีรัตนศาสดีาราม แลิะแนวแกนทิศตะวันออก-ตะวันตกตรงกับก่�งกลิางพระวิหารวัดีมหาธีาตุ
           ยุวราชรังสฤษัฎิ� จุดีตัดีของ ๒ แกนกำาหนดีเป็นที�ตั�งของพระเมรุมาศ สื�อค้วามหมายว่า พระบาท
   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282   283