Page 230 - 46-1
P. 230

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                        ปีีที่่� ๔๖ ฉบัับัที่่� ๑  มกราคม-เมษายน ๒๕๖๔
           222                                                                           ภาวะวูบ


                      ๒.๒  โรคำโคำรงสร้างห้ัวใจำ-ห้ลอดเล่อด ภาวะวูบที่ี�เกิดจำากป็ริมีาณเล่อดที่ี�ออกจำากห้ัวใจำ

           ลดลง มีีกลวิธานอ่�นที่ี�ร�วมีด้วย เชั่�น severe aortic stenosis

           อุุบัติการภาวะวูบ

                    พบได้บ�อยในเวชั่ป็ฏิิบัติิ  ในที่วีป็ยุโรป็พบภาวะนี�ป็ระมีาณร้อยละ ๑ ของผิู้ป็่วยที่ี�มีาติรวจำแผินก

           ฉุกเฉิน พบได้ ๒ ชั่�วงอายุ คำ่อ ระห้ว�างอายุ ๑๐-๓๐ ป็ี สูงสุดที่ี�อายุ ๑๕ ป็ี พบในเพศีห้ญ่ิงมีากกว�า
           เพศีชั่าย สาเห้ติุส�วนให้ญ่�เกิดจำาก reflex syncope และพบอุบัติิการณ์สูงสุดอีกคำรั�งเมี่�ออายุมีากกว�า
           ๖๕ ป็ี สาเห้ติุที่ี�พบรองลงมีา คำ่อ ภาวะวูบเห้ติุห้ัวใจำ ส�วน OH syncope พบในคำนสูงอายุ และมีีอีก

           จำำานวนห้นึ�งไมี�ที่ราบสาเห้ติุ

           การพย์ากรณ์์โรค

                    คำวามีเสี�ยงที่ี�จำะเสียชั่ีวิติเป็็นผิลจำากการที่ี�มีีโรคำที่ี�รุนแรงมีากกว�า ได้แก� ผิู้ที่ี�มีี structural heart

           disease รวมีถึึงผิู้ป็่วยที่ี�มีี OH ร�วมีด้วย ภาวะวูบเห้ติุรีเฟล็กซึ่์ จำะมีีพยากรณ์โรคำดี ภาวะวูบจำะเกิดซึ่ำ�า
           ได้บ�อยโดยเฉลี�ยป็ระมีาณ ๑ ใน ๓ จำะเกิดวูบซึ่ำ�าภายใน ๓ ป็ี ภาวะวูบที่ี�เกิดจำากการบาดเจำ็บรุนแรง
           เชั่�น กระดูกห้ัก อุบัติิเห้ติุจำากการขับขี�ยานยนติ์พบได้ร้อยละ ๖ บาดเจำ็บเล็กน้อยพบได้ร้อยละ ๒๙

                    การประเม์ินิผูู้�ป่วย์

                    ๑.  ซึ่ักป็ระวัติิผิู้ป็่วยและผิู้เห้็นเห้ติุการณ์
                    ๒.  การติรวจำร�างกาย รวมีที่ั�งคำวามีดันโลห้ิติที่�านอนและที่�าย่น
                    ๓.  ที่ำา EKG

                    การติรวจำนอกเห้น่อกว�านี�จำะพิจำารณาเป็็นราย ๆ ไป็ เชั่�น

                    ๑.  Carotid sinus massage ที่ำาในผิู้ป็่วยอายุมีากกว�า ๔๐ ป็ี
                    ๒.  Echocardiography ที่ำาในรายที่ี�เป็็นโรคำห้ัวใจำห้ร่อสงสัยว�าจำะเป็็น
                    ๓.  ECG monitoring ที่ำาในรายสงสัย arrhythmic syncope

                    ๔.  Orthostatic challenge (Lying to standing test ห้ร่อ/และ head-up tilt testing)

           ที่ำาในรายสงสัย Reflex syncope
                    ๕.  ติรวจำเล่อดห้ร่อติรวจำพิเศีษที่างระบบป็ระสาที่ ที่ำาในรายที่ี�สงสัย Non-syncopal T-LOC
           ห้ลังจำากป็ระเมีินเบ่�องติ้นแล้ว มีีป็ัญ่ห้าที่ี�ติ้องติอบคำ่อ

                      ๕.๑  ผิู้ป็่วย T-LOC เป็็นภาวะวูบห้ร่อไมี� ซึ่ึ�งจำะได้จำากการซึ่ักป็ระวัติิและผิู้เห้็นเห้ติุการณ์

           โดยถึามีว�า
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235