Page 111 - 45-3
P. 111

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                              ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๓  กัันยายน-ธัันวาคม ๒๕๖๓

                 ศาสตราจารย์์ ดร.สักกมน เทพหััสดิน ณ อย์ุธย์า และ ดร.ลักษิิกา งามวงศ์ลำ�าเลิศ    103


                 เนื�องจัากเกิดการผ่ลิิต์ร่แอกท่ฟีออกซิิเจันสปีช่ส์ในปริมาณท่�มากข่�น ต์่วอย่างเช่น ชูอาแลิะคณะ

                 (Chua et al., 2015) พบว่า ใบของต์้นช้าเลิือด (Premna serratifolia L.) ม่ปริมาณสารประกอบ
                 ฟีีนอลิิกสะสมสูงท่�สุดในช่วงเท่�ยงว่นซิ่�งเป็นเวลิาท่�ม่แสงแดดสูงสุด แลิะปริมาณสะสมของสารประกอบ

                 ฟีีนอลิิกในใบของต์้นช้าเลิือดจัะลิดลิงในช่วงเย็นแลิะช่วงเช้า เปเรซิ โลิเปซิ แลิะคณะ (Pérez-López
                 et al, 2018) พบว่า กร่นโอ๊กแลิะเรดโอ๊กท่�โต์ภูายใต์้แสงส่ขาวท่�ความเข้มสูง (๗๐๐ ไมโครโมลิ

                 ต์่อวินาท่ต์่อต์ารางเมต์ร) ม่ปริมาณฟีลิาโวนอยด์สูงกว่ากร่นโอ๊กแลิะเรดโอ๊กท่�โต์ภูายใต์้แสงส่ขาว
                 ท่�ความเข้มต์ำ�า (๔๐๐ ไมโครโมลิต์่อวินาท่ต์่อต์ารางเมต์ร) อย่างไรก็ต์าม ย่งไม่พบการรายงานข้อมูลิ

                 ท่�เก่�ยวข้องก่บผ่ลิกระทบเชิงลิบของการใช้แสงท่�มองเห็นได้ด้วยต์าท่�ความเข้มสูงต์่อปริมาณแลิะ
                 คุณภูาพของผ่ลิิต์ผ่ลิทางการเกษต์ร

                 ผลิของแสงอัลิติราไวโอเลิติติ่อการสังเคราะห์สารประกอบฟีีนอลิ่ก

                          แสงอ่ลิต์ราไวโอเลิต์หรือแสงยูว่เป็นคลิื�นแม่เหลิ็กไฟีฟี้าท่�ม่ความยาวคลิื�นอยู่ในช่วงท่�ต์ามนุษย์

                 มองไม่เห็น แสงอ่ลิต์ราไโอเลิต์ประกอบไปด้วยแสงยูว่ซิ่ (UV-C ความยาวคลิื�น ๑๐๐-๒๘๐ นาโนเมต์ร)
                 แสงยูว่บ่ (UV-B ความยาวคลิื�น ๒๘๐-๓๑๕ นาโนเมต์ร) แลิะแสงยูว่เอ (UV-A ความยาวคลิื�น

                 ๓๑๕-๔๐๐ นาโนเมต์ร)  อย่างไรก็ต์าม ม่เพ่ยงแสงยูว่เอแลิะแสงยูว่บ่บางส่วนเท่าน่�นท่�ผ่่านช่�นบรรยากาศั
                 มาถ่งพื�นโลิกได้ เนื�องจัากช่�นโอโซินในบรรยากาศัช่�นสต์ราโทสเฟีียร์ดูดซิ่บแสงยูว่ซิ่หรือแสงท่�ม่

                 ความยาวคลิื�นส่�นกว่า ๒๘๐ นาโนเมต์ร (Gupta et al., 2017; Ngamwonglumlert et al., 2020)
                 แม้ว่าแสงยูว่จัะไม่จัำาเป็นต์่อการส่งเคราะห์แสงของพืช  แต์่แสงยูว่ม่ผ่ลิต์่อการส่งเคราะห์สารเมแทบอไลิต์์

                 ทุต์ิยภููมิ เนื�องจัากแสงยูว่สามารถเหน่�ยวนำาให้เกิดการผ่ลิิต์ร่แอกท่ฟีออกซิิเจันสปีช่ส์เพิ�มข่�น
                 โดยเฉพาะยูว่บ่ซิ่�งเป็นคลิื�นพลิ่งงานสูงท่�ด่เอ็นเอสามารถดูดซิ่บได้โดยต์รง จั่งส่งผ่ลิให้ด่เอ็นเอเส่ยหาย

                 ด่งน่�น สภูาวะท่�แสงยูว่เอแลิะยูว่บ่ม่ความเข้มสูง พืชจัะเพิ�มการส่งเคราะห์สารประกอบฟีีนอลิิก
                 เพื�อทำาหน้าท่�เป็นสารต์้านอนุมูลิอิสระ ท่�งน่�สารประกอบฟีีนอลิิก โดยเฉพาะในกลิุ่มของฟีลิาโวนอยด์

                 ย่งสามารถช่วยดูดซิ่บยูว่ส่วนเกินเพื�อป้องก่นอ่นต์รายท่�อาจัเกิดข่�นต์่อเซิลิลิ์พืช (Nawkar et al.,
                 2013; Rastogi and Madamwar, 2015; Sharma et al., 2019)

                          เนื�องจัากแสงยูว่เป็นคลิื�นท่�ม่พลิ่งงานสูง การท่�พืชได้ร่บแสงยูว่เป็นระยะเวลิานานหรือได้ร่บ
                 แสงยูว่ท่�ความเข้มสูงเกินไปจั่งอาจัส่งผ่ลิกระทบเชิงลิบได้ ด่งน่�นจั่งควรใช้แสงยูว่เพื�อกระต์ุ้นการผ่ลิิต์

                 สารประกอบฟีีนอลิิกแต์่เพ่ยงระยะเวลิาส่�น ๆ ภูายใต์้ระด่บความเข้มแสงท่�เหมาะสม ต์่วอย่างเช่น
                 เฉินแลิะคณะ (Chen et al., 2019) พบว่า ต์้นอ่อนข้าวสาลิ่ (Triticum aestivum L. cv. Sumai 188)









                                                                                                  19/1/2565 BE   08:52
       _21-0851(097-113)5.indd   103                                                              19/1/2565 BE   08:52
       _21-0851(097-113)5.indd   103
   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116