Page 42 - 45 2
P. 42

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                       ปีีที่่� ๔๕ ฉบัับัที่่� ๒  พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๓
           32                                                   ปััญหาความไม่เท่่าเท่ียมและท่างออกเชิิงนโยบาย


           บอกว่าตััวเองยากจุนี้ ขณะท้�ตััวเลขของทางการบอกว่าคนี้จุนี้ทั�วประเทศม้ร้อยละ ๘ ความไม่

           เท่าเท้ยมกันี้จุ่งไม่เป็นี้เพ้ยงเร่�องของสัถิตัิตััวเลข แตั่เป็นี้เร่�องประสับการณ์ และพลังอารมณ์

           ความรู้สั่กด้้วย ผลการสัำารวจุท้�กล่าวมาบ่งชิ้�ว่า คนี้เอเชิ้ยไม่พอใจุกับสัภิาพความไม่เท่าเท้ยมตัาม

           สัมควร แตั่การสัำารวจุไม่ได้้สัอบถามถ่งสัาเห์ตัุ

                    การรับอุด้มการณ์เสัร้นี้ิยมให์ม่และแนี้วโนี้้มของทุนี้นี้ิยมตัามกฎปีแกตั้ ซี่�งเพิ�มความไม่
           เท่าเท้ยมท้�สัห์รัฐอเมริกาและท้�ยุโรป อาจุจุะอธิิบายปรากฏิการณ์ในี้เอเชิ้ยได้้บ้าง แตั่ยังม้ปัจุจุัยอ่�นี้อ้ก

           ซี่�งยังไม่ม้การศ่กษ์าล่กซี่�ง ม้เร่�องสัำาคัญี่ ๓ เร่�องท้�จุะเนี้้นี้ในี้ท้�นี้้�  ค่อ
                                                             ๑๐
                    ๑. ปัจุจุัยด้้านี้โครงสัร้างในี้กระบวนี้การพัฒนี้าเศรษ์ฐกิจุของประเทศกำาลังพัฒนี้าในี้
           เอเชิ้ยสั่วนี้มากท้�ตั่างกับประเทศตัะวันี้ตัก ในี้บริบทท้�ระบบเศรษ์ฐกิจุยังไม่ใชิ่ระบบตัลาด้ภิายใตั้

           ห์ลักการนี้ิตัิรัฐ  เตั็มท้� ผู้ประกอบการท้�ม้ความสััมพันี้ธิ์อันี้ด้้กับผู้ม้อำานี้าจุการเม่องสัามารถได้้
                        ๑๑


           ๑๐  เยนี้ จุันี้ทรา และคณะ (Jain-Chandra et al., 2016) ตัั�งข้อสัังเกตัว่า ม้งานี้วิจุัยไม่มากท้�ศ่กษ์าสัาเห์ตัุของความไม่เท่าเท้ยมในี้
             เอเชิ้ย เขาได้้ทบทวนี้วรรณกรรมท้�นี้่าสันี้ใจุ เชิ่นี้ Zhuang et al., 2014 ศ่กษ์าระด้ับจุุลภิาค เสันี้อว่า เทคโนี้โลย้ โลกาภิิวัตัิ และ
             การปฏิิรูปตัามแนี้วทางตัลาด้ (market-oriented reform) สั่งผลให์้ความไม่เท่าเท้ยมสัูงข่�นี้ในี้เอเชิ้ย เพราะให์้ผลเข้าข้างผู้ม้ทุนี้ ผู้ม้
             ทักษ์ะ ผู้อยู่ใกล้ตัลาด้ Claus et al. (2014) เนี้้นี้ไปท้�บทบาทของนี้โยบายการคลังในี้เอเชิ้ย เขาศ่กษ์าโด้ยใชิ้วิธิ้การเศรษ์ฐมิตัิพบว่า ความ
             ตั่างระห์ว่างเอเชิ้ยและท้�อ่�นี้ในี้โลกนี้ั�นี้โยงกับผลกระทบของนี้โยบายสัวัสัด้ิการสัังคมและนี้โยบายเร่�องท้�อยู่อาศัย; Balakrishnan et al.,
             2013 เนี้้นี้ไปท้�ปัจุจุัยทำาให์้ม้ความเตัิบโตัเพ่�อมวลชินี้ ม้นี้ัยว่าโตัแบบเท่าเท้ยม (inclusive growth) พบว่า การศ่กษ์าการเพิ�มสััด้สั่วนี้
             รายได้้ของคนี้งานี้ในี้รายได้้รวม (เท้ยบกับรายได้้อ่�นี้ เชิ่นี้ กำาไร) และการปฏิิรูปภิาคการเงินี้ ม้ผลบวกตั่อความเตัิบโตัเพ่�อมวลชินี้; Aoyogi
             and Ganelli, 2013 ศ่กษ์าเร่�องเด้้ยวกันี้พบว่า การกระจุายรายได้้ผ่านี้นี้โยบายการคลังและนี้โยบายการเงินี้ เพ่�อให์้เกิด้เสัถ้ยรภิาพ
             เศรษ์ฐกิจุมห์ภิาค และการปฏิิรูปโครงสัร้างเศรษ์ฐกิจุเพ่�อกระตัุ้นี้การค้าระห์ว่างประเทศ เพ่�อลด้การว่างงานี้และเพ่�อเพิ�มผลิตัภิาพ
             เป็นี้ผลด้้แก่ความเท่าเท้ยม  นี้อกเห์นี้่อจุากนี้้�ม้งานี้วิจุัยท้�เจุาะเฉพาะเร่�องห์ร่อเฉพาะประเทศ เชิ่นี้ โครงการเศรษ์ฐกิจุพ่�นี้ฐานี้ (Sevratne
             and Sun, 2013)  ความตั่างระห์ว่างชินี้บท-เม่อง (Kanbur and Zhuang, 2014)  การค้าและการจุัด้จุ้างคนี้ภิายนี้อก (outsourcing)
             (Hsieh and Woo, 2005) งานี้เห์ล่านี้้�เนี้้นี้ไปท้�ปัจุจุัยด้้านี้เศรษ์ฐศาสัตัร์ ม้ประโยชินี้์ในี้เชิิงนี้โยบาย แตั่ไม่ครอบคลุมถ่งปัจุจุัยด้้านี้
             โครงสัร้าง อุด้มการณ์ และระบบการเม่อง
           ๑๑  ค่อห์ลักการท้�ว่า ไม่ม้ใครม้อภิิสัิทธิิ�ห์ร่อสัามารถเข้าถ่งอำานี้าจุรัฐเพ่�อประโยชินี้์สั่วนี้ตันี้เห์นี้่อกว่าใคร เพราะอำานี้าจุรัฐอยู่ในี้กำากับ
             ของกฎห์มาย ด้ังนี้ั�นี้ ทุกคนี้ในี้สัังคมเด้้ยวกันี้จุ่งอยู่ภิายใตั้กฎห์มายอย่างเท่าเท้ยมกันี้ มาจุากภิาษ์าอังกฤษ์ว่า Rule of Law ในี้
             ภิาษ์าไทยบางครั�งจุะแปลคำานี้้�ว่า ห์ลักนี้ิตัิธิรรม ด้ังเชิ่นี้รัฐธิรรมนีู้ญี่ฉบับ พ.ศ. ๒๕๕๐ และ ฉบับ พ.ศ. ๒๕๖๐ ใชิ้คำาว่า นี้ิตัิธิรรม อย่างไร
             ก็ตัาม ผู้รู้ด้้านี้กฎห์มายมห์าชินี้ของไทยชิ้�ว่า ม้ความตั่างระห์ว่างคำาว่า ห์ลักนี้ิตัิธิรรม กับ ห์ลักนี้ิตัิรัฐ  โด้ยม้การอธิิบายถ่งท้�มาของทฤษ์ฎ้
             เบ่�องห์ลังท้�ตั่างกันี้ในี้ประวัตัิศาสัตัร์ความเป็นี้มา ห์ลักนี้ิตัิรัฐนี้ั�นี้ สัะท้อนี้ “แนี้วคิด้ทฤษ์ฎ้ทางกฎห์มายของรัฐในี้ภิาคพ่�นี้ยุโรปในี้สัาย
             โรมาโนี้เจุอร์มานี้ิก (Romano-Germanic) ให์้ห์มายถ่งการท้�รัฐท้�เคยทรงอำานี้าจุเบ็ด้เสัร็จุเด้็ด้ขาด้นี้ั�นี้ยอมลด้ตััวลงมาอยู่ใตั้กรอบของ
             กฎห์มายตัลอด้จุนี้วางแนี้วทางท้�มาของอำานี้าจุ การใชิ้อำานี้าจุผ่านี้ชิ่องทางของกฎห์มายทั�งสัิ�นี้ ด้ังนี้ั�นี้ นี้ิตัิรัฐ ค่อ “การปกป้องบุคคล
             จุากการกระทำาตัามอำาเภิอใจุของรัฐห์ร่อผู้ปกครอง” โด้ยท้� “กฎห์มายตั้องไม่เปิด้โอกาสัให์้ผู้ปกครองใชิ้อำานี้าจุตัามอำาเภิอใจุ ภิายใตั้
             กฎห์มายบุคคลทุกคนี้ตั้องเสัมอภิาคกันี้” (วรเจุตันี้์ ภิาค้รัตันี้์, ๒๕๕๓) รวมทั�งบุคคลท้�เป็นี้ผู้ปกครองด้้วย กฎห์มายท้�ว่านี้้�ค่อ กฎห์มาย
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47