Page 143 - The Journal of the Royal Society of Thailand
P. 143

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                               ปีีที่่� ๔๙ ฉบัับัที่่� ๑ มกราคม-เมษาย์น ๒๕๖๗

                    ศาสตราจารย์์ ดร.ครองชััย์  หััตถา                                                    133



                  บทสรุป

                         ชาวสัยามเป็นพลเมืองขึ้องรัฐติ่าง ๆ ในประเทศมาเลเซีียมาติั�งแติ่ยุคโบราณด้ังที�ปรากฏิเรื�องราว

                  ขึ้องชาวสัยามด้ั�งเด้ิมหุรือโอรังเสัียมในติำนานมะโรงมหุาวงศ�ภูาษามลาย้อักขึ้ระยาวี หุรือพงศาวด้ารเมืองไทรบุรี
                  และเอกสัารอื�น ๆ อีกหุลายฉีบับ ซี่�งบางช่วงเวลาชาวสัยามได้้เป็นผู้้้ปกครอง ในช่วงเวลาด้ังกล่าวนั�นทั�งชาวสัยาม
                  และชาวมลาย้สั่วนใหุญ่่ติ่างนับถือศาสันาฮัินด้้และศาสันาพุทธุ์ ก่อนที�ชาวมลาย้สั่วนใหุญ่่และชาวสัยามบางสั่วน

                  ได้้เขึ้้านับถือศาสันาอิสัลามในเวลาติ่อมา ในช่วงที�อาณาจีักรนครศรีธุ์รรมราชมีอิทธุ์ิพลไปถ่งหุัวเมืองมลาย้

                  และการขึ้ยายอำนาจีขึ้องไทยลงไปจีรด้ปลายคาบสัมุทรมลาย้ในสัมัยสัุโขึ้ทัยติ่อเนื�องมาถ่งอยุธุ์ยานั�น ได้้ปรากฏิ
                  หุลักฐานว่า มีคนไทยจีำนวนหุน่�งลงไปติั�งถิ�นฐานบ้านเรือนในหุัวเมืองมลาย้ เช่น กรณีชาวสัยามที�บ้านบังหุญ่ัง
                  อำเภูอติุมปัติ รัฐกลันติัน ที�พวกเขึ้าระบุว่าบรรพบุรุษเป็นชาวสัุโขึ้ทัย รวมทั�งที�อำเภูอติากใบ จีังหุวัด้นราธุ์ิวาสั

                  ประชาชนจีำนวนมากใช้ภูาษาไทยถิ�นติากใบหุรือภูาษาเจี๊ะเหุ ซี่�งนักวิชาการภูาษาศาสัติร�ระบุว่าภูาษาด้ังกล่าวมี

                  วิวัฒนาการมาจีากภูาษาสัุโขึ้ทัย สั่วนชาวสัยามในเกด้าหุ�หุรือไทรบุรี เปรัก และปะลิสั สั่วนใหุญ่่เป็น คนไทย
                  ถิ�นใติ้ที�เคยเป็นขึ้้าราชการมณฑ์ลไทรบุรีและพำนักอาศัยมาติั�งแติ่ก่อนทำสันธุ์ิสััญ่ญ่าเขึ้ติแด้นกับอังกฤษใน
                  พ.ศ. ๒๔๕๒ บางกลุ่มก็ไปทำการเกษติร ประมง ค้าขึ้าย และประกอบอาชีพอื�น ๆ ชาวสัยามที�เขึ้้ารับอิสัลาม

                  จีะได้้สัถานะภู้มิบุติรและได้้รับสัิทธุ์ิติ่าง ๆ โด้ยสัมบ้รณ�ติามกฎหุมายขึ้องประเทศมาเลเซีีย ชาวสัยามที�นับถือ

                  พระพุทธุ์ศาสันามีสัถานะเป็นพลเมืองและได้้รับสัิทธุ์ิติ่าง ๆ ติามกฎหุมาย แติ่ไม่เท่ากับชาวมาเลย�พื�นเมือง และ
                  ไม่เท่ากับชาวสัยามที�นับถือศาสันาอิสัลาม หุลังจีากที�ชาวสัยามที�นับถือพระพุทธุ์ศาสันาได้้รับสัถานะภู้มิบุติร
                  ใน พ.ศ. ๒๕๕๖ ทำใหุ้รับสัิทธุ์ิติ่าง ๆ มากขึ้่�น  ทั�งทางด้้านการเมือง การศ่กษา การทำงานราชการ และการประกอบ

                  การธุ์ุรกิจี โด้ยมีการเปลี�ยนแปลงหุลักเกณฑ์�ที�เปิด้โอกาสัใหุ้ชาวสัยามได้้รับสัิทธุ์ิติ่าง ๆ มากขึ้่�นกว่าก่อนได้้รับสัถานะ

                  ภู้มิบุติร


                  เอกูสารอ้างอิง

                  ครองชัย หุัติถา. (๒๕๕๒). ประวัติศาสตร์ปัตตานัีสมัยอาณาจัักรโบัราณถึึงการปกคีรอง 7 หัวเมือง. สัำนักพิมพ�

                         แหุ่งจีุฬาลงกรณ�มหุาวิทยาลัย.
                  ________. (๒๕๖๕). ภูมิภาคีมลายู-ปาตานัีกับัการเมืองการปกคีรองของไทย. บีแอนด้�บีเอกสัาร.
                  ชุลีพร วิรุฬหุะ. (๒๕๔๕). ความสััมพันธุ์�สัยาม-มลาย้ในมิติิวัฒนธุ์รรม: บทสัะท้อนจีากฮัิกายัติ มะรง มหุาวงศ�

                         (ติำนานเมืองไทรบุรี). วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕(๑), ๗๐-๑๐๑.

                  ซี้ไฮัลี ยามา และสัุภูาค�พรรณ ติั�งติรงไพโรจีน�. (๒๕๖๖). พหุุวัฒนธุ์รรมกับนโยบายด้้านพลเมืองขึ้องรัฐบาลมาเลเซีีย
                         กรณีศ่กษากลุ่มคนมาเลเซีียเชื�อสัายไทย (โอรังเซีียม). วารสารรัฐศาสตร์นัิเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
                         ๙(๑), ๔๑-๖๗.

                  ประทุม ชุ่มเพ็งพันธุ์ุ�. (๒๕๕๐). ตำนัานัมะโรงมหาวงศ์ พงศาวด้ารเมืองไทรบัุรี. เด้อะโนเลจีเซี็นเติอร�.

                  ปิยนาถ บุนนาค. (๒๕๔๗). นัโยบัายการปกคีรองขอรัฐบัาลต่อชิาวไทยมุสลิมในัจัังหวัด้ชิายแด้นัภาคีใต้
                         (พ.ศ.๒๔๗๕-๒๕๑๖). พิมพ�ครั�งที� ๓. โรงพิมพ�จีุฬาลงกรณ�มหุาวิทยาลัย.
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148