Page 83 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 83
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖
ดร.อนัันัต์์ เหล่่าเล่ิศวรกุุล่ 71
เพื�อให้รับกัับความหมายดังได้ว่ามา คนอินเดียโบราณยังจินตนากัารว่า ท้องฟ้้าเป็็นพ่อวัว แผ่่นดินเป็็น
แม่วัว คัมภีร์ฤคเวทมณฑลที� ๕ สูกัตะที� ๓๖ มันตระที� ๕ กัล่าวว่า เทพแห่งฟ้้า เทฺฺยาสฺ (Dyaus) กั็คือ วัว ส่วน
ฤคเวทมณฑลที� ๕ สูกัตะที� ๕๘ มันตระที� ๖ ว่า เทพแห่งฟ้้าเป็็นวัวสีแดงชาดซึ�งร้องมอ ๆ สู่แผ่่นดินเบื้องล่าง
(Macnonell, 1981: 21) นัยว่า หื�นกัระหายอย่างที�สุดที�จะผ่สมพันธุ์กัับแม่วัวได้แกั่แผ่่นดินเบื้องล่าง ดังนั้น
น้ำฝ้นที�หลั�งจากัฟ้้าลงสู่ดินกั็คือน้ำเชื้อจากัพ่อวัวพันธุ์ในวัยถัึกัคึกัคะนองที�หลั�งรดลงภายในกัายข้องแม่วัว
๑๐
(Lanman, 1955: 251) ในภาษาสันสกัฤตคำศััพท์ที�แป็ลว่า ฝ้น คือ วีรฺษ (varṣa) ยังสัมพันธ์กัับคำศััพท์ที�
๑๑
แป็ลว่า พ่อวัว คือ วีฤษภ (vṛṣabha) อีกัด้วย
คำว่า วีฤษภ (vṛṣabha) ซึ�งแป็ลว่า พ่อวัว อาจตีความได้ว่าเป็็น ‘วัวหนุ่มที�เต็มไป็ด้วยขุ้มพลังทางเพศั
และน้ำเชื้อชั้นดี’ เพราะในภาษาสันสกัฤตมีรากัศััพท์ที�สร้างจากัคำนาม (denominative root) ว่า √วีฤษสฺย
(vṛṣasya) แป็ลว่า บังเกัิดความต้องกัารแห่งบุรุษเพศั, เกัิดกัามราคะ (1955: 252) รากัศััพท์นี้สร้างจากั
คำนาม วีฤษนัฺ (vṛṣan) แป็ลว่า ชายหนุ่มผู่้แข้็งแรงป็านโคถัึกั มีพลังทางเพศัเหลือล้น และอุดมด้วยน้ำเชื้อบุรุษ
๑๒
ซึ�งพร้อมจะหลั�งฝ้นน้ำเชื้อแพร่พืชพันธุ์ ซึ�งตรงข้้ามกัับศััพท์ ษณฺฒ (ṣaṇḍha) แป็ลว่า ข้ัณฑี
ในภาษาสันสกัฤต ทั้งคำ วีรฺษ (varṣa) แป็ลว่า ฝ้น และ วีฤษภ (vṛṣabha) แป็ลว่า พ่อวัว ล้วนมาจากั
รากัศััพท์เดียวกัันคือ √วีฤษฺ (vṛṣ) แป็ลว่า หลั�งฝ้น, หลั�งน้ำเชื้อ อาจวิเคราะห์ว่า รากัศััพท์นี้เป็็นรูป็แสดง
ความป็รารถันา (desiderative) ข้องรากัศััพท์ √วีฤ (vṛ) ซึ�งแป็ลว่า ป็กัคลุม กั็ยังได้ ดังนั้น วีฤษฺ (vṛṣ) หรือ
วีรฺษฺ (varṣ) จึงแป็ลว่า ป็รารถันาจะป็กัคลุม, ต้องกัารจะป็กัคลุม นั�นคือ ตกัคลุมฟ้้าคลุมดิน นั�นเอง โดยนัย
๑๓
นี้ผู่้ที�เข้้าใจว่า ชายที�เกัิดราศัีเมถัุน (Gemini) มีชะตาที�ต้องเกัี�ยวข้้องกัับเพศัมากักัว่าคนราศัีอื�น ๆ นับว่า
ผ่ิดถันัด ชายที�ราศัีตกัในเกัณฑ์ราศัีพฤษภ (Taurus) ต่างหากัที�มีพลังทางเพศัเหลือล้นป็านโคถัึกัหนุ่มพลุ่งพล่าน
และแม้ว่าจะข้ัดข้วางด้วยป็ระกัารใด ๆ หรือ “...ขัังไวี้, ก็โลดิจูากคีอักไป บัยอัมอัยู่ ณ ทฺี�ขััง;” (สมเด็จพระรามาธิบดี
ศัรีสินทร มหาวชิราวุธ, ๒๔๖๗: ๕๗) คือ ย่อมต้องทำทุกัวิธีเพื�อโลดแล่นไป็หาหญิงผู่้เป็็นที�รักัยอดป็รารถันา
ข้องตน
พิจารณานัยแห่งนามเทพกัรีกั อัูระโนัส (Ouranos) กั็อาจแป็ลโดยนัยเดียวกัับเทพอารยัน วีรุณ (Varuṇa)
คือ ฝ้นที�ตกัคลุมฟ้้าคลุมดิน และ นั�ำฝนั นั้นเองเป็รียบดั�ง นั�ำเชิ้�อัทฺี�กลั�นัจูากกายขัอังบัุรุษผูู้้แขั็งแกร่ง
และเป่�ยมดิ้วียพลัง ที�หลั�งต้องในกัายข้องสตรี ป็ฏิิสนธิ แล้วเจริญเป็็นบุตรอยู่ในครรภ์มารดา โดยนัยนี้
เทพอูระโนสกัับเทวีไกัอาจึงให้กัำเนิดเหล่าไททัน ไซคล็อป็ส์ และเฮกัะทอนเซียรีซได้ แม้จะป็ราศัจากัความรักัที�
มีให้แกั่กัันกั็ตาม
๑๐ ภาษาไทยรับมาเป็นคำว่า พฤษภ
๑๑ ภาษาไทยรับมาเป็นคำาว่า พรรษา
๑๒ คำานี้มาจากรากศััพท์ √ขุณฺฑฺ (khaṇḍ) แปลื่ว่า ตัด, เฉ่อนออก
๑๓ เมิถุน (methuna) เป็นคำาภาษาบาลื่ี แม้ว่าคำานี้ภาษาบาลื่ีแปลื่ว่า คู่กิจทางเพศั แลื่ะปฏิภาคกับคำาภาษาสันสกฤต ไมิถุน (maithuna) แปลื่
ว่า คู่กิจทางเพศั; คู่, เป็นคู่ แต่คำานี้มาจากศััพท์เดิม มิิถุน (mithuna) แปลื่ว่า คู่, คู่แฝด ซึ่ึ่งปฏิภาคกับคำาภาษาอังกฤษ meet แปลื่ว่า พบ, เจอ
แลื่ะเน่่องจากอินเดียรับระบบจักรราศัีมาจากกรีก กรีกเรียกราศัีนี้ว่า Gemini แปลื่ว่า คู่แฝด หมายถึง คู่แฝด พอลลักซ์ (Pollux) กับ คาสเตุอร์
(Castor) ซึ่ึ่งเป็นเทพคู่แฝดผูู้้พิทักษ์ชาวเร่อ ภาษาสันสกฤตจึงเรียกราศัี Gemini ว่า มิิถุน (mithuna) (Monier-Williams, 2003: 816)