Page 82 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 82

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีีท่� ๔๘ ฉบับท่� ๒ พัฤษภาคม-สัิงหาคม ๒๕๖๖

               70                                          ความสััมพัันธ์์ระหว่างฟ้้ากัับดิิน : มุมมองทางศััพัทมูลวิทยาและเทวตำนาน



                      เทวตำนานข้องอินเดียโบราณกั็สอดคล้องกัับกัรีกัไม่น้อย เทพแห่งฟ้้าหรือ เทฺฺยาสฺ (Dyaus) ให้กัำเนิด

              บุตรและบุตรีจำนวนมากั ในคัมภีร์ฤคเวทมักัใช้ในรูป็แสดงความเป็็นเจ้าข้อง (genitive) เพื�อระบุเทพและ
              เทวีต่าง ๆ เช่น พระอัุษา (เทวีแห่งแสงทองยามย�ำรุ่งและย�ำค�ำ) พระอััศิวีินั (เทพฝ้าแฝ้ด เป็็นเทพแห่งแสงเงินกั่อน

              ฟ้้าสาง) พระสูรยะ (เทพแห่งดวงตะวัน) พระอัาทฺิตย์ทฺั�งหลาย (เหล่าเทพแห่งแสงสว่างบนท้องฟ้้า) พระอัินัทฺร์
              (เทพแห่งไฟ้บนฟ้้า) พระอััคีนัี (เทพแห่งไฟ้) พระปรรชิันัยะ (เทพแห่งเมฆฝ้น) พระมารุต (เทพแห่งสายลม)

              และเหล่า เทฺพฤษีอัังคีีรัส ล้วนแต่เป็็นบุตรข้องฟ้้าทั้งสิ้น (Macdonell, 1981: 21)
                      เทวีไกัอานั้น ว่าโดยเสียง นับว่าใกัล้กัับนามเทวี กิ ข้องเมโสโป็เตเมียอยู่ไม่น้อย เป็็นไป็ได้ว่านามข้อง

              เทวีแห่งแผ่่นดินข้องกัรีกัว่าตามนามข้องเทวีเมโสโป็เตเมีย ชื�อเฉพาะ ไกอัา แป็ลว่า โลกั, แผ่่นดิน ๙
                      ภาษากัรีกักัับภาษาสันสกัฤตเป็็นภาษาร่วมตระกัูลกััน คือ ต่างกั็จัดอยู่ในตระกัูลภาษาอินโด-ยูโรเป็ียน

              (Indo-European) ต่างกัันที�ภาษากัรีกัอยู่ในสาข้า ภาษากรีก (Greek) ส่วนภาษาสันสกัฤตอยู่ในสาข้าอินโด-
              อิเรเนียน (Indo-Iranian) กัิ�งอินดิกั (Indic) (Cowgill, 1994: 431) เมื�อค้นคำภาษาสันสกัฤตใน A Sanskrit-

              English Dictionary ข้อง Sir Monier Monier-Williams (2003: 326, 370) ได้พบคำว่า กฺษมฺ (kṣam) หรือ
              กฺษมา (kṣmā) และ คีฺมา (gmā) ล้วนแต่เป็็นคำนามเพศัหญิง แป็ลว่า “แผ่่นดิน” คำภาษาสันสกัฤตทั้ง ๓ คำนี้

              สัมพันธ์กััน และอาจป็ฏิิภาค (correspond) กัับนามเทวีไกัอาข้องกัรีกั แต่ในฐานะที�เป็็นบุคลาธิษฐานข้องแผ่่นดิน
              เทวีไกัอาข้องกัรีกัเทียบได้กัับเทวี ปฤถิิวีี (Pṛthivī) ซึ�งเป็็นเทพตั้งแต่ยุคพระเวท (Macdonell, 1981: 88)

              สมัยหลังนิยมเรียกัเทพองค์นี้ว่า ธรณี (dharaṇī) หากัเรียกัแบบไทย ๆ กั็คือ แม่พระธรณี หรือ พระแม่ธรณี
                      ส่วนอูระโนสแป็ลว่าอะไรแน่ ยังเป็็นข้้อถักัเถัียงอยู่ไม่น้อย จอร์จ ดูเมซีล (Georges Dumézil, 1934)

              ได้ศัึกัษาเป็รียบเทียบเทวตำนานข้องกัรีกัและข้องอินเดียโบราณโดยละเอียด แล้วสรุป็ว่า เทพอูระโนสข้องกัรีกั

              มีลักัษณะหลายป็ระกัารตรงกัับเทพ วีรุณ (Varuṇa) ข้องชาวอารยัน เมื�อพิจารณาเสียงข้องคำ นับว่า Οὐρανός
              ในภาษากัรีกักัับคำ วีรุณ (varuṇa) ในภาษาสันสกัฤตป็ฏิิภาคกัันได้
                      วีรุณ (Varuṇa) เป็็นเทพผู่้สถัิตอยู่บนฟ้้า มาจากัรากัศััพท์ √วีฤ (vṛ) แป็ลว่า ‘ป็กัคลุม’ ซึ�งเป็็นรากัศััพท์

              เดียวกัับคำภาษาอังกัฤษ (co)ver วีรุณ (Varuṇa) จึงแป็ลว่า ป็กัคลุมทั�วท้องฟ้้า เทพองค์นี้เป็็นบุคลาธิษฐาน
              ข้องธรรมชาติ ๒ สิ�ง คือ

                      ๑. ดวงดาวที�ป็กัคลุมทั�วท้องฟ้้าในยามราตรีอันมืดมิด
                      ๒. ฝ้นที�ตกัป็กัคลุมทั�วท้องฟ้้าและผ่ืนแผ่่นดิน
















              ๙  นามเทวี Gaia เป็นต้นศััพท์ขึ้องคำภาษาอังกฤษหลื่ายคำ เช่น geometry, geography, geology, George แลื่ะ Pangea
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87