Page 81 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 81

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่่� ๔๘ ฉบัับัที่่� ๒ พฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖

                      ดร.อนัันัต์์  เหล่่าเล่ิศวรกุุล่                                                      69



                    เทฺฺยาสฺ ปิตรฺ (Dyaus pitar) คู่กัับแผ่่นดินซึ�งเป็็นเทพมารดา ปฤถิิวีี มาตรฺ (Pṛthivi mātar) (Macdonell, 1981:

                    22) สมญาเทพแห่งฟ้้าข้องอินเดียโบราณ เทฺฺยาสฺ ปิตรฺ (Dyaus pitar) ป็ฏิิภาคกัับนามเทพข้องกัรีกั
                    Ζεủ πάτερ คือมหาเทพ ซููส (Zeus) ในฐานะเป็็นบิดาแห่งทวยเทพ และป็ฏิิภาคกัับเทพข้องโรมัน ยูปปิเตอัร์

                    (Iuppitar) หรือ จููปิเตอัร์ (Jupiter) (Gray, 1964: 21)
                           ชาวจีนกั็มองฟ้้าเป็็นว่าบิดรและมองแผ่่นดินเป็็นมารดา เมื�อไป็ศัาลเจ้าจีน จะพบกัระถัางธูป็ใหญ่วางอยู่

                    กัลางแจ้งสำหรับให้ผู่้คนกัราบไหว้และป็ักัธูป็เพื�อให้ควันหอมจากัธูป็ นั้นบูชา ทฺีตี�แป่บั้อั (天地父母 Tiāndì
                                                                            ๖
                    Fùmǔ) คือ บูชาฟ้้าและดินในฐานะบิดรมารดาข้องสรรพชีวิตทั้งมวลนั�นเอง

                           เมื�อเทพ อัูระโนัส คู่กัับเทวี ไกอัา กั็ได้ให้กัำเนิดเหล่า ไทฺทฺันั (Titan) ชายหญิงข้ึ้นมาจำนวน ๖ คู่
                    น่าแป็ลกัที�ไททันจำนวนหนึ�งเกัิดจากัเทพและเทวีแท้ ๆ แต่กัลับมีรูป็ร่างลักัษณะออกัไป็ทางอสูรมากักัว่า

                    เทพยดา คือ มีทั้งพวกัที�มีข้นาดร่างกัายใหญ่โตมหึมาอย่างเหล่ายักัษ์ตาเดียว ไซูคีล็อัปส์ (Cyclopes) ไป็จนถัึง
                    พวกัที�มีจำนวนหัวและมือมากัผ่ิดป็รกัติอย่าง เฮกะทฺอันัเซูียรีซู  (Hecatoncheires) ทั้ง ๓ ตน แม้แต่เหล่า
                                                                        ๗
                    เทพไททันซึ�งมีรูป็เป็็นมนุษย์มากัที�สุดกั็ตามที เทพไททันบางองค์กั็มีลักัษณะกัึ�งอสูร เช่น โอัเคีอัะนัอัส
                    (Okeanos) หรือ โอัเชิอัะนัุส  (Oceanus) มีข้นาดกัายใหญ่โต มีเข้าเป็็นวัว มีท่อนล่างเป็็นป็ลา มือซ้ายถัืองู
                                            ๘
                    มือข้วาถัือป็ลา (Sophilos: a New Direction in Greek Pottery, online)
                           ป็ระเด็นที�น่าสนใจคือ เทวตำนานทั้งข้องเมโสโป็เตเมีย กัรีกั และอินเดียโบราณ มุ่งอธิบายกัำเนิดข้อง

                    สรรพชีวิตในโลกัว่า เกัิดข้ึ้นมาได้อย่างไร ใครเป็็นบิดรมารดา ใครเป็็นบุตร แต่กัลับไม่มีเรื�องราวอันเป็็นตำนาน
                    ความรักัระหว่างเทพแห่งฟ้้ากัับเทวีแห่งผ่ืนแผ่่นดินเลย ตามเทวตำนานข้องกัรีกัดูเหมือนว่า บรรดาลูกั ๆ ข้อง

                    เทพเทวียุคป็ฐมกัาล คือ ฟ้้าและดิน จะกั่อกัำเนิดข้ึ้นมาจากักัำลังแห่งกัามราคะมากักัว่าจะเกัิดข้ึ้นมาเป็็น
                    สักัข้ีพยานแห่งความรักั เทพบิดรอูระโนสจึงออกัอากัารรังเกัียจบุตรบางตนอย่างเห็นได้ชัด เมื�อเฮกัะทอนเซียรีซ

                    แต่ละตนถัือกัำเนิดข้ึ้นมา เทพบิดรกั็กัักัข้ังบุตรไว้ในสถัานที�เร้นลับแห่งหนึ�งแห่งใดในโลกั (Hamilton, 1999: 67)
                    ไม่ให้ผู่้ใดพบเห็น อย่าแป็ลกัใจที�ในท้ายที�สุดเทพอูระโนสถัูกับุตรคนสุดท้องในกัลุ่มไททันนาม โคีรโนัส นำพา

                    เหล่าเทพไททันโค่นอำนาจ ซ้ำยังใช้เคียวที�ถัือป็ระจำในมือตัดองคชาติบิดาข้องตนทิ้งเสียด้วย ตำนานมิได้ให้
                    เหตุผ่ลไว้ว่า โครโนสทำเช่นนั้นทำไม แต่เราตีความได้ว่า เทพโครโนสต้องกัารกัำจัดกัามราคะข้องฟ้้าผู่้เป็็น

                    บิดาให้สิ้นไป็ เพื�อไม่ให้เกัิดลูกัหลานล้นแผ่่นดิน จนมีป็ริมาณไม่สมดุลกัับทรัพยากัรที�มีในโลกั












                    ๖  วัตถุประสงค์เดิมขึ้องธูป ค่อ ใช้กลื่ิ่นหอมจากธูปเป็นคันธบูชาแด่สิ่งศัักดิ�สิทธิ�หร่อสิ่งที่เคารพบูชา แต่เดี�ยวนี้ธูปผู้ลื่ิตเป็นอุตสาหกรรม จึงมิใช่ธูปหอม
                    เหม่อนเช่นอดีต แลื่ะคนก็หลื่งลื่่มวัตถุประสงค์ดั้งเดิมขึ้องการจุดธูปไปสิ้นแลื่้ว
                    ๗  /ˌhɛ·kə·ˈtɒn·xɪər·iːz/
                                                 ͡
                    ๘  Okeanos /oːˈke·a·nus/, Oceanus /oˈtʃe·a·nus/
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86