Page 243 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 243
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖
ศาสตราจารย์์กิิตติคุุณ ดร.กิุณฑลีี ร่�นรมย์์ 231
สำหรื่ับป็รื่ะเทุศไทุยิ่ สำน่กงานพื่่ฒนานโยั่บายั่สุขภาพื่ระหว�างประเทศ (IHPP) แลีะศ่นยั่์วิจ่ยั่แลีะ
สน่บสนุนเป้าหมายั่การพื่่ฒนาที�ยั่่�งยั่่น (SDGs Move) ได�จัดให�มี่การื่ป็รื่ะชุมีแลกเป็ล่�ยิ่นเรื่่ยิ่นรื่้�รื่ะหวิ่าง
ภาคัส่วินต่าง ๆ เพ่�อการื่พัฒนาทุ่�ยิ่ั�งยิ่่นของป็รื่ะเทุศไทุยิ่เป็็นคัรื่ั�งแรื่ก เมี่�อเด่อนกรื่กฎาคัมี พ.ศ. ๒๕๖๕ ผู้ลลัพธุ์
จากการื่ป็รื่ะชุมี คั่อ รายั่งานการพื่่ฒนาที�ยั่่�งยั่่นของประเทศไทยั่ พื่.ศ. ๒๕๖๕ (Thailand Sustainable
Development Report 2022 หรื่่อ TSDF Report 2022) อาจเรื่่ยิ่กได�วิ่าการื่ป็รื่ะชุมีน่�เป็็นการื่กรื่ะตุ�นให�
ป็รื่ะเทุศไทุยิ่มีุ่งไป็ส้่การื่พัฒนาทุ่�ยิ่ั�งยิ่่นให�สอดคัล�องกับ SDGs ของสหป็รื่ะชาชาต่ภายิ่ในป็ี ๒๕๗๓ ป็รื่ะเด็นทุ่�
ผู้้�เช่�ยิ่วิชาญและผู้้�มี่ส่วินได�ส่วินเส่ยิ่ในทุุกภาคัส่วินได�กำหนดให�เป็็นป็รื่ะเด็น หรื่่อหัวิข�อหลักสำหรื่ับป็รื่ะเทุศไทุยิ่
มี่ ๕ หัวิข�อ ดังน่� (TSDF Report, 2022)
๑) สุขภาวิะและทุรื่ัพยิ่ากรื่มีนุษัยิ่์ (human well-being and capabilities)
๒) เศรื่ษัฐก่จทุ่�ยิ่ั�งยิ่่นและเป็็นธุรื่รื่มี (sustainable and just economies)
๓) การื่ลดการื่ป็ล่อยิ่ก๊าซึ่เรื่่อนกรื่ะจกในภาคัพลังงานและอุตสาหกรื่รื่มีทุ่�ยิ่ั�งยิ่่น (energy
decarbonization with universal access)
๔) การื่พัฒนาของพ่�นทุ่�เมี่องและพ่�นทุ่�กึ�งเมี่อง (urban and peri-urban development)
๕) รื่ะบบอาหารื่ ทุ่�ด่น น้�า และมีหาสมีุทุรื่ทุ่�ยิ่ั�งยิ่่น (sustainable food, land, water and oceans)
หัวิข�อทุั�ง ๕ จากรื่ายิ่งาน TSDF ๒๐๒๒ น่� คั่อป็รื่ะเด็นสำคััญทุ่�ทุ�าทุายิ่การื่พัฒนาทุ่�ยิ่ั�งยิ่่นของป็รื่ะเทุศไทุยิ่
(“เจาะลึกสถึานการื่ณ์”, ๒๕๖๕) ทุุกหัวิข�อเป็็นเรื่่�องใหญ่รื่ะดับชาต่ทุ่�ต�องอาศัยิ่คัวิามีรื่่วิมีมี่อจากทุุกฝั่ายิ่ทุ่�
เก่�ยิ่วิข�อง โดยิ่เฉพาะจากภาคัธุุรื่ก่จเอกชนเพ่�อช่วิยิ่กันหาทุางแก�ไขป็ัญหาทุั�งรื่ะยิ่ะสั�นและรื่ะยิ่ะยิ่าวิ ผู้้�นำองคั์การื่
ทุ่�มี่วิ่สัยิ่ทุัศน์ และมี่เป็้าหมีายิ่พัฒนาองคั์การื่ให�มี่คัวิามียิ่ั�งยิ่่น ต�องเป็็นแนวิหน�าสำคััญ รื่ายิ่งาน TSDF ๒๐๒๒ น่�
จึงสามีารื่ถึใช�เป็็นจุดเรื่่�มีต�น เพ่�อช่วิยิ่กำหนดทุ่ศทุางขององคั์การื่ของป็รื่ะเทุศไทุยิ่ในการื่พัฒนาส้่เป็้าหมีายิ่
อยิ่่างยิ่ั�งยิ่่นในอนาคัต
ESG Score : DJSI
S & P Global Inc. เป็็นสถึาบันจัดอันดับคัวิามีน่าเช่�อถึ่อชั�นนำของโลก สำนักงานใหญ่อยิ่้่ทุ่�นคัรื่น่วิยิ่อรื่์ก
สหรื่ัฐอเมีรื่่กา เป็็นผู้้�จัดทุำดัชน่คัวิามียิ่ั�งยิ่่นดาวิน์ โจนส์ DJSI (Down Jones Sustainability Indices) ซึ่ึ�งเป็็น
ดัชน่ทุ่�ใช�ป็รื่ะเมี่นการื่ดำเน่นธุุรื่ก่จของบรื่่ษััทุตามีแนวิทุางการื่พัฒนาอยิ่่างยิ่ั�งยิ่่นทุ่�ได�รื่ับการื่ยิ่อมีรื่ับทุั�วิโลก
มี่หลักในการื่ป็รื่ะเมี่น ESG โดยิ่ใช�เกณฑ์์ในการื่ป็รื่ะเมี่นทุ่�เรื่่ยิ่กวิ่า Corporate Sustainability Assessment
หรือ CSA ซึ่ึ�ง S&P Global Inc. ได�ป็รื่ับป็รืุ่งเกณฑ์์ใน พ.ศ. ๒๕๖๕ ถึึง ๒๐ ข�อ ส่วินใหญ่เก่�ยิ่วิข�องกับการื่มี่
จรื่รื่ยิ่าบรื่รื่ณทุางธุุรื่ก่จ กลยิุ่ทุธุ์ทุางสภาพภ้มี่อากาศ นโยิ่บายิ่และรื่ะบบการื่จัดการื่ส่�งแวิดล�อมี ป็รื่ะส่ทุธุ่ภาพเช่ง
เศรื่ษัฐก่จทุ่�จะดึงด้ดและรื่ักษัาบุคัลากรื่ทุ่�มี่คัวิามีสามีารื่ถึ การื่คัุ�มีคัรื่องคัวิามีเป็็นส่วินตัวิ การื่กำกับด้แลอยิ่่างเป็็น
ธุรื่รื่มีและโป็รื่่งใส ฯลฯ ทุั�งน่� เกณฑ์์ทุ่�ป็รื่ับเป็ล่�ยิ่นก็จะมี่ผู้ลต่ออุตสาหกรื่รื่มีทุ่�แตกต่างกันไป็ (“ส่องคัวิามียิ่ั�งยิ่่น”,
๒๕๖๕) เช่น เรื่่�องการื่เป็ล่�ยิ่นแป็ลงสภาพภ้มี่อากาศทุ่�มี่ผู้ลต่อการื่ทุำอุตสาหกรื่รื่มี นับตั�งแต่มี่คัวิามีตกลงป็ารื่่สใน