Page 173 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 173

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖

                      รองศาสตราจารย์์ ดร.ร่�งกานต์  น่�ย์สินธุ์่์ และศาสตราจารย์์กิตติคุ่ณ ดร.ส่ดา  เกีย์รติกำจรวงศ์    161



                               ขั้ั�นเหน่�ย่วนำ (induction) กรัะบวนการัที�เกิดกรัะตุ้นตนเอง (autocatalysis) ของกรัด

                    เอลีโอสเตียรัิกให้เกิดอนุมูลอิสรัะ และการันำแก๊สออกซิเจนมาเติมที�ตำแหน่งที�มีอนุมูลอิสรัะเกิดป็ฏิิกิรัิยา
                    อย่างชี้า ๆ เพื�อนำหน่วยอนุมูลอิสรัะนี�ไป็ขั�นตอนต่อไป็ในขั�นรัิเรัิ�ม

                               ขั้ั�นริิเริิ�ม (initiation) ฟิิล์มพอลิเมอรั์ได้รัับแก๊สออกซิเจนมากข่�น ออกซิเจนเหล่านี�ทำให้ความ
                    หนาแน่นของฟิิล์มเกิดมากข่�นด้วยพันธัะคู่ในกรัดเอลีโอสเตียรัิกที�มีหมู่ฟิังก์ชีันไฮดรัอกซิลและไฮโดรัเพอรั์ออกซี

                    เกิดในฟิิล์มพอลิเมอรั์ และ
                               ขั้ั�นเชื่่�อมขั้วาง (crosslinking) จากขั�นตอนการัเหนี�ยวนำและการัรัิเรัิ�ม จำนวนพันธัะคู่ลดลง

                    จากเกิดป็ฏิิกิรัิยาเชีื�อมขวางของโมเลกุลน้�ามันสองโมเลกุลอย่างต่อเนื�อง จ่งได้สารัโมเลกุลขนาดใหญ่อย่าง
                    รัวดเรั็วด้วยป็รัิมาณรั่างแหไม่ใหญ่เกินไป็ จ่งทำให้ได้ฟิิล์มมีความยืดหยุ่นและไม่เกิดรัอยย่นบนฟิิล์ม

                               น้�ามันทังมีข้อเสีย คือ อัตรัาการัแห้งตัวไวมาก ทำให้ฟิิล์มที�ได้เกิดรัอยย่น จ่งได้มีการัป็รัับป็รัุง
                    ความว่องไวในการัเกิดป็ฏิิกิรัิยาของน้�ามันทังโดยการัลดป็รัิมาณพันธัะคู่โดยผ่านป็ฏิิกิรัิยาหลายกลไก เชี่น

                    ป็ฏิิกิรัิยาดีลส์-อัลเดอรั์ (Diels-Alder) (Lacerda, 2014: 26829) หรัือคอนจูเกตไดอีน (−C=C−C=C−)
                    กับหมู่แทนที�แอลคีน เรัียกป็ฏิิกิรัิยานี�ว่า dienophile ได้ผลผลิตเป็็นวงเหลี�ยม (Soucek, 2009) นอกจากนี�

                    การัเกิดพอลิเมอรั์รั่วม (copolymer) กับมอนอเมอรั์สไตรัีน (styrene monomer) หรัือไดอะครัิเลต (diacrylate)
                    สามารัถุลดป็รัิมาณพันธัะคู่ได้ การัลดป็รัิมาณพันธัะคู่ทำให้ความเรั็วในการัเกิดโครังข่ายลดลง ทำให้ผิวของ

                    ฟิิล์มมีรัอยย่นน้อย น้�ามันพืชีที�มีรัะดับความไม่อิ�มตัวสูงเกิดป็ฏิิกิรัิยาพอลิเมอไรัเซชีันแบบการัเติม จ่งได้
                    พอลิเมอรั์ที�มีความแข็งแรัง

                               น้�ามันทังเกิดการัพอลิเมอไรัเซชีันแบบป็รัะจุบวก  (cationic polymerization) โดยมี
                    ไดไวนิลเบนซีน (divinylbenzene) เป็็นมอนอเมอรั์รั่วมได้พอลิเมอรั์ที�แข็งแรัง ทนต่ออุณหภูมิสูง มีความ

                    เป็็นไป็ได้ในการันำมาแทนที�พอลิเมอรั์จากป็ิโตรัเลียม เนื�องจากย่อยสลายทางชีีวภาพได้และยังมีรัาคาถุูก
                    (Li, 2000: 1045)


























                       ภาพัที� ๑๒ กรัะบวนการัแห้งตัวของน้�ามันชีักแห้งจากการัเกิดป็ฏิิกิรัิยาที�พันธัะคู่ (ดัดแป็ลงจาก Meier, 2007; 1791)
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178