Page 177 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 177

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖

                      รองศาสตราจารย์์ ดร.ร่�งกานต์  น่�ย์สินธุ์่์ และศาสตราจารย์์กิตติคุ่ณ ดร.ส่ดา  เกีย์รติกำจรวงศ์    165



                    การัเป็ลี�ยนรัูป็กลีเซอรัอลด้วยแบคทีเรัียได้พอลิไฮดรัอกซีแอลคาโนเอต การัทำป็ฏิิกิรัิยาเคมีรัะหว่างกลีเซอรัอล

                    กับตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาได้แอโครัลีนเป็็นสารัตั�งต้นในการัผลิตสารัซักล้าง ผงซักฟิอก และสารัตั�งต้นกรัดอะครัิลิกซ่�ง
                    นิยมนำมาสังเครัาะห์เป็็นพอลิเมอรั์ดูดซ่มน้�าสูง นอกจากนี� กลีเซอรัอลยังทำป็ฏิิกิรัิยาได้กับกรัดไดคารั์บอกซิลิก

                    เชี่น กรัดแอดิพิก กรัดแอเซลาอิก กรัดเซบาสิก กรัดซูเบอรัิก โดยไม่ต้องใชี้ตัวทำละลายด้วยป็ฏิิกิรัิยาการัสังเครัาะห์
                    พอลิเมอรั์แบบควบแน่น ได้พอลิเมอรั์ที�มีโครังสรั้างแบบมีการัเชีื�อมขวาง สามารัถุออกแบบได้หลากหลาย

                    ตามการัใชี้งาน พอลิเมอรั์ที�สังเครัาะห์จากน้�ามันไทรักลีเซอรัอลเป็็นองค์ป็รัะกอบสำคัญในน้�ามันพืชี มีศัักยภาพ
                    ในการัผลิตพลาสติกสำหรัับใชี้งานเชีิงโครังสรั้าง เชี่น พอลิเอสเตอรั์และพอลิยูรัิเทน ตัวแป็รัที�มีผลต่อการัเกิด

                    ป็ฏิิกิรัิยาเคมีและสมบัติของพอลิเมอรั์ที�ได้ ได้แก่ ชีนิดและจำนวนหมู่ฟิังก์ชีัน จำนวนและตำแหน่งพันธัะคู่ใน
                    น้�ามันและกรัดไขมัน จำนวนอะตอมคารั์บอนในสายโซ่ของกรัดไขมัน

                           การัพัฒนาพอลิเมอรั์ใหม่ฐานกลีเซอรัอลและไทรักลีเซอไรัด์จากของเหลือในกรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซล
                    จ่งเป็็นส่วนหน่�งของวัสดุใหม่ที�มีความเป็็นมิตรัต่อสิ�งแวดล้อมและมีความยั�งยืน ซ่�งสอดคล้องกับเป็้าหมาย

                    การัพัฒนาที�ยั�งยืน (Sustainable Development Goals หรัือ SDGs) ขององค์การัสหป็รัะชีาชีาติในมิติด้าน
                    เศัรัษฐกิจและสังคม ครัอบคลุมการัพัฒนาหลายเป็้าหมาย เชี่น ส่งเสรัิมอุตสาหกรัรัมที�มีป็รัะสิทธัิภาพในการั

                    ใชี้ทรััพยากรัสะอาดและเป็็นมิตรักับสิ�งแวดล้อม ผ่านการัยกรัะดับโครังสรั้างพื�นฐาน (เป็้าหมายที� ๙) ป็กป็้อง
                    ฟิ้�นฟิู และสนับสนุนการัใชี้รัะบบนิเวศับนบกอย่างยั�งยืน (เป็้าหมายที� ๑๕)



                    เอกสารอ้างอิง

                    Adhikari, S., Fernando, S.D., & Haryanto, A. (2008). Hydrogen production from glycerin by
                           steam reforming over nickel catalyst. Renewable Energy. 33(5), 1097-1100.

                    Alam, M., Akram, D., Sharmin, E., Zafar, F., & Ahmad, S. (2014). Vegetable oil based eco-friendly
                           coating materials: A review article. Arabian Journal of Chemistry. 7, 469-479.

                    Bastos, F.A., & Tubino, M. (2017). The use of the liquid form cashew nut shells as an  antioxidant
                           in biodiesel. Journal of Brazilian Chemical Society. 28(5), 747-755.

                    Castello, M.L., Dweck, J., Aranda, D.A.G., Pereira, R.C.L., & Guimaraes Neto, M.J.R. (2014). ZSM5
                           as a potential catalyst for glycerol pyrolysis. Journal of Sustainable Biorefinery

                           System. 4, 61-67.
                    Cayli, G., & Kusefoglu, S. (2010). A simple one-step synthesis and polymerization of plant

                           oil triglyceride iodo isocyanates. Journal of Applied Polymer Science. 116, 2433-2440.
                    Chakraborty, I., & Chatterjee, K. (2020). Polymers and composites derived from castor oil as

                           sustainable materials and degradable biomaterials: Current status and emerging Trends.
                           Biomacromolecules. 21(12), 4639-4662.
   172   173   174   175   176   177   178   179   180   181   182