Page 165 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 165

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                                ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖

                      รองศาสตราจารย์์ ดร.ร่�งกานต์  น่�ย์สินธุ์่์ และศาสตราจารย์์กิตติคุ่ณ ดร.ส่ดา  เกีย์รติกำจรวงศ์    153



                           (จ)  ไขมัน การัใชี้กลีเซอรัอลดิบมาผลิตน้�ามันหรัือไขมันเป็็นอีกทางเลือกหน่�งในการัผลิตไบโอดีเซล

                    แบบยั�งยืน โดยเฉพาะการัใชี้สาหรั่ายเซลล์เดียว
                           (ฉ)  กลุ่ม Schizochytrium limacinum SR21 และ Cryptococcus curvatus สาหรั่ายกลุ่มนี�

                    เรัียกว่า สาหรั่ายน้�ามัน เรั่งการัเจรัิญเติบโตโดยเติมกลีเซอรัอลให้เป็็นแหล่งคารั์บอน ความเข้มข้นของกลีเซอรัอล
                    มีผลน้อยต่อการัเติบโตของเซลล์ (Yang, 2012: 4) ในรัะยะเวลาภายใน ๑๒ วัน สามารัถุเก็บเกี�ยวผลผลิต

                    น้�ามันที�ผลิตได้ น้�ามันที�ได้มีรั้อยละของกรัดไขมันไม่อิ�มตัวสูง เป็็นแหล่งวัตถุุดิบตั�งต้นในไบโอดีเซล นอกจากนี�
                    ยีสต์หลายสายพันธัุ์ใชี้กลีเซอรัอลดิบเป็็นแหล่งอาหารั เชี่น ยีสต์ผลิตน้�ามันและแคโรัทีนโดยกรัะบวนการัหมัก

                    (Liang, 2010: 7582; Saenge, 2011: 210)



                           การผิลิต์สารเคุมีจากกระบวนการเปลี�ยุนรูปกลีเซอรอลด์้วยุวิธุ์ีทางเคุมีโด์ยุใช้้ต์ัวเร�งปฏิิกิริยุาเคุมี
                    ตัวอย่างสารัเคมีจากกรัะบวนการัเป็ลี�ยนรัูป็ทางเคมีของกลีเซอรัอลดิบ โดยใชี้ตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาเคมี เชี่น

                           (ก)  สารัป็รัะกอบที�มีออกซิเจนในโครังสรั้าง (oxygenated chemical compound) สารัป็รัะกอบ
                    กลุ่มนี�ใชี้เป็็นตัวเติมในน้�ามันเชีื�อเพลิง เชี่น ๒,๒-ไดเมทิล-๑,๓-ไดออกโซแลน-๔-อิล (2,2-dimethyl-1,3-dioxo

                    lan-4-yl) ผลิตจากกลีเซอรัอลดิบ ทำหน้าที�ป็รัับสภาพความหนืดในน้�ามันเชีื�อเพลิง (Yang, 2012: 1)
                    นอกจากนี� กลีเซอรัอลดิบยังใชี้ในการัผลิตแอโครัลีน (acrolein) จากป็ฏิิกิรัิยาการักำจัดน้�าของกลีเซอรัอล

                    (Ott, 2006: 215) ในกรัะบวนการัผลิตแอโครัลีนนั�น เติมกลีเซอรัอลดิบลงในเครัื�องป็ฏิิกรัณ์แบบฟิลูอิไดซ์เบด
                    (fluidized bed reactor) ทำให้สารัรัะเหยเหนือตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาทังสเตนที�กรัะตุ้นด้วยเซอรั์โคเนีย ได้แอโครัลีน

                    และน้�า ดังสมการัที� (๑) แอโครัลีนเป็็นสารัตั�งต้นในการัผลิตสารัซักล้าง ผงซักฟิอก และพอลิเมอรั์ดูดซ่มน้�า
                    มากโดยผ่านกลไกการัทำออกซิเดชีันเป็็นกรัดอะครัิลิกซ่�งเป็็นมอนอเมอรั์ตั�งต้นของการัสังเครัาะห์พอลิเมอรั์

                    ดูดซ่มน้�ามาก




                                                                                                           (๑)






                           ป็ฏิิกิรัิยาของกลีเซอรัอลโดยใชี้ตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาพัลแลเดียมบนคารั์บอนหรัือตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาที�มีทองเป็็น
                    องค์ป็รัะกอบ ได้ผลิตภัณฑ์์เคมีและกรัดอินทรัีย์หลายชีนิด (Demirel, 2007: 638) ดังภาพที� ๔

                           (ข)  พอลิกลีเซอรัอล ผลิตได้โดยกรัะบวนการัสังเครัาะห์อีเทอรั์หรัืออีเทอรัิฟิิเคชีัน (etherification)
                    ของสารัตั�งต้นกลีเซอรัอลโดยใชี้ตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยาที�จำเพาะ ได้สารัผลิตภัณฑ์์เป็็นพอลิกลีเซอรัอล สารัพอลิกลีเซอรัอล

                    เอสเตอรั์ใชี้ป็รัะโยชีน์ได้หลายด้าน เชี่น สารัยับยั�งการัเกิดฝ้้า สารัลดการัเกิดไฟิฟิ้าสถุิต สารัลดแรังต่งผิวชีนิด
                    ไม่มีป็รัะจุใชี้ในอุตสาหกรัรัมอาหารั เครัื�องสำอาง สินค้าอุป็โภค (Solvay Chemicals, 2008) ผลิตฟิิล์มพลาสติก

                    บรัรัจุภัณฑ์์อาหารัและพลาสติกคลุมโรังเรัือน เนื�องจากพอลิกลีเซอรัอลสามารัถุย่อยสลายทางชีีวภาพได้
   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169   170