Page 162 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 162

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พัฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖

               150                                         การพััฒนาและการประยุุกต์์ใช้้พัอลิเมอร์ฐานกลีเซอรอลและไทรกลีเซอไรด์์



              โอกาสในการสร้างมูลคุ�าเพัิ�มกลีเซอรอลด์ิบ

                      กรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซลมีกลีเซอรัอลเป็็นผลพลอยได้มีป็รัิมาณสูงมาก จ่งนำกลีเซอรัอลที�ผลิต

              ได้นี�ไป็ใชี้เป็็นเชีื�อเพลิงเพื�อให้เกิดพลังงานความรั้อน (Rossi, 2011: 4814) รัวมทั�งเป็็นส่วนผสมในอาหารัสัตว์
              รั่วมกับธััญพืชี ข้าวโพดและถุั�วเหลือง เนื�องจากมีความสามารัถุในการัดูดซ่มสูง เอนไซม์กลีเซอรัอลไคเนส

              ในตับเป็ลี�ยนกลีเซอรัอลให้เป็็นกลูโคส จ่งได้แคลอรัีสูงเป็็นแหล่งพลังงานให้แก่สัตว์ได้ ชี่วยเรั่งการัเติบโต
              เรั่งน้�าหนัก (Yang, 2012: 2) แต่การัผลิตอาหารัสัตว์ต้องรัะวังสารัป็นเป็้�อนอื�นในกลีเซอรัอลดิบที�ได้จาก

              กรัะบวนการัผลิตไบโอดีเซล เชี่น เมทานอล เอทานอล ซ่�งกำจัดออกได้ด้วยการักลั�นภายใต้ความรั้อน
              การัป็นเป็้�อนของไอออนโซเดียมที�อาจกำจัดออกโดยการัแลกเป็ลี�ยนไอออน กรัะบวนการัทำกลีเซอรัอลดิบให้มี

              ความบรัิสุทธัิ�ข่�นมีค่าใชี้จ่ายสูงและไม่เหมาะสมในด้านเศัรัษฐศัาสตรั์ หน่�งในทางเลือกใหม่เพื�อเพิ�มมูลค่าและ
              การัใชี้ป็รัะโยชีน์ของกลีเซอรัอลดิบ คือ การัผลิตสารัเคมีตั�งต้นสำหรัับใชี้ในอุตสาหกรัรัมเคมีหลายป็รัะเภท ดังนี�



                      กลีเซอรอลด์ิบในอุต์สาหกรรมเคุมี

                      กลีเซอรัอลมีความสามารัถุละลายน้�าได้ จ่งมีสมบัติเป็็นสารัที�ดูดความชีื�นจากอากาศัได้ดี กลีเซอรัอล
              สามารัถุเกิดป็ฏิิกิรัิยาการัสังเครัาะห์กับสารัตนเองดังเชี่นหลักการัเกิดพอลิเมอรั์โดยใชี้หน่วยมอนอเมอรั์

              (self-polymerization) จ่งมีมอนอเมอรั์หน่วยซ�ำจำนวนหน่�งอยู่ในโมเลกุลใหม่ ทำให้ได้เป็็นหน่วยที�ใหญ่ข่�น
              เป็็นได- ไทรั- เททรัะกลีเซอรัอล (di-, tri-, tetra-glycerol) จนกรัะทั�งเป็็นพอลิกลีเซอรัอล (polyglycerol)

              สารันี�มีความยืดหยุ่นสูงจากการัเกิดพันธัะไฮโดรัเจนได้ทั�งภายในโมเลกุลและรัะหว่างโมเลกุล พอลิกลีเซอรัอล
              และอนุพันธั์ของพอลิกลีเซอรัอลเป็็นสารัที�ย่อยสลายได้ มีความป็ลอดภัยต่อรั่างกาย มักนำมาใชี้เป็็นสารัเพิ�ม

              ความชีุ่มชีื�นในเครัื�องสำอาง จ่งนำไป็ใชี้ป็รัะโยชีน์ทางอุตสาหกรัรัมในรัูป็ของพอลิกลีเซอรัอลเอสเตอรั์
              [poly(glycerol ester)] ซ่�งเป็็นองค์ป็รัะกอบของพลาสติกชีีวภาพป็รัะเภทพอลิเอทิลีน (polyethylene

              bioplastics) และเซลลูโลสแอซิเทต (cellulose acetate) รัวมทั�งผลิตภัณฑ์์ฟิิล์มพอลิไวนิลแอลกอฮอล์ [poly
              (vinyl alcohol)] และยังเป็็นองค์ป็รัะกอบหน่�งของเทอรั์โมพลาสติกฐานสตารั์ชีชีนิดคืนรัูป็ที�ย่อยสลายทาง

              ชีีวภาพได้ (starch-based biodegradable thermoplastics) และพอลิเอสเตอรั์ (polyesters) นอกจากนี�
              ยังใชี้เป็็นกลุ่มตัวเติมซ่�งเป็็นสารัที�ใชี้ในอุตสาหกรัรัมน้�ามันหล่อลื�น ของเหลวในรัะบบไฮดรัอลิก และสารั

              ต้านไฟิฟิ้าสถุิตในอุตสาหกรัรัมการัเคลือบผิวอีกด้วย นอกจากนี� ยังนำกลีเซอรัอลไป็ใชี้ในอุตสาหกรัรัมเคมีอื�น
              ได้หลากหลาย เชี่น การัผลิตแก๊สเชีื�อเพลิงโดยกรัะบวนการัแป็รัสภาพเป็็นแก๊สของกลีเซอรัอล การัผลิต

              เชีื�อเพลิงเหลวด้วยกรัะบวนการัแตกตัว การัผลิตแก๊สไฮโดรัเจนโดยใชี้น้�าในภาวะยิ�งยวด การัผลิตน้�ามัน
              เชีื�อเพลิงสำหรัับยานยนต์ โดยกรัะบวนการัเป็ลี�ยนแป็ลงองค์ป็รัะกอบทางเคมีด้วยการัใชี้ความรั้อนสูงใน

              สภาวะไรั้อากาศั (pyrolysis) การัสังเครัาะห์ ๑,๓-โพรัเพนไดออลโดยเทคนิคเคมีไฟิฟิ้า การัผลิตแหล่งของคารั์บอน
              โดยกรัะบวนการัดีไนทรัิฟิิเคชีัน การัเตรัียมกรัดกลีเซอรัิกโดยใชี้อนุภาคทองขนาดนาโนเมตรั การัเกิดมีเทน

              (methane) เป็็นผลิตภัณฑ์์พลอยได้ในรัะหว่างการัผลิตไบโอดีเซล การัสังเครัาะห์มอนอกลีเซอไรัด์โดยป็ฏิิกิรัิยา
   157   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167