Page 163 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 163
วารสารราชบััณฑิิตยสภา
ปีีที่ี� ๔๘ ฉบัับัที่ี� ๒ พฤษภาคุม-สิงหาคุม ๒๕๖๖
รองศาสตราจารย์์ ดร.ร่�งกานต์ น่�ย์สินธุ์่์ และศาสตราจารย์์กิตติคุ่ณ ดร.ส่ดา เกีย์รติกำจรวงศ์ 151
เกิดต่อเนื�อง การัผลิตผงซิลเวอรั์โดยใชี้กลีเซอรัอลและด่าง (alkali) เป็็นตัวรัีดิวชี์ การัสังเครัาะห์เอสเตอรั์ของ
กลีเซอรัอลโดยป็ฏิิกิรัิยาซีโอไลต์ และการัผลิตแอโรัแมติกไฮโดรัคารั์บอนจากกลีเซอรัอลโดยใชี้ตัวเรั่งป็ฏิิกิรัิยา
ซีโอไลต์ (Castello, 2014: 63)
กลีเซอรอลเป็นวัต์ถุุด์ิบในเทคุโนโลยุีช้ีวภาพั
กลีเซอรัอลดิบมีศัักยภาพในการัใชี้เป็็นวัตถุุดิบตั�งต้นเพื�อแป็รัรัูป็ให้เป็็นผลผลิตที�มีมูลค่าเพิ�ม เชี่น กรัด
อินทรัีย์หลายชีนิด ผลิตเป็็นน้�ามันและไขมันด้วยยีสต์ และ ๑,๓-โพรัเพนไดออล (1,3-propanediol) ซ่�งใชี้เป็็น
สารัตั�งต้นในการัผลิตพลาสติกชีีวภาพได้ ยกตัวอย่างพอเป็็นสังเขป็ ดังนี�
ก ารผิลิต์สารเคุมีจากกระบวนการเปลี�ยุนรูปทางช้ีวภาพั (bioconversion)
(ก) ๑,๓-โพรัเพนไดออล ผลผลิตสำคัญจากกรัะบวนการัหมักในภาวะไรั้อากาศั (anaerobic
fermentation) โดยแบคทีเรัียสายพันธัุ์ Klebsiella pneumonia (Mu, 2006: 1755) กลีเซอรัอลดิบ
สามารัถุนำมาใชี้เป็็นสารัตั�งต้นโดยตรัง ได้ผลผลิต ๑,๓-โพรัเพนไดออลสูงและมีความบรัิสุทธัิ� เมื�อเทียบกับ
ป็รัิมาณกลีเซอรัอลที�ใชี้ แม้ว่าองค์ป็รัะกอบจากกลีเซอรัอลดิบมีความหลากหลายก็ตาม การัใชี้ป็รัะโยชีน์ของ
๑,๓-โพรัเพนไดออลในอุตสาหกรัรัมเคมีมีหลายป็รัะเภท เชี่น ส่วนป็รัะกอบในกาว (adhesive) ส่วนป็รัะกอบ
ในสารัเคลือบผิวที�เกิดป็ฏิิกิรัิยาภายใต้ภาวะของรัังสีอัลตรัาไวโอเลตในการัสังเครัาะห์แอลิแฟิติกส์พอลิเอสเตอรั์
ชีนิดพอลิ ๓-ไฮดรัอกซีบิวทิเรัต [(poly(3-hydroxybutyrate)- bio-polyester)] ตัวทำละลาย สารัต้าน
การัเยือกแข็งที�เติมลงในน้�ามันเชีื�อเพลิงเพื�อป็้องกันการัแข็งตัวในฤดูหนาว
(ข) กรัดซิทรัิก (citric acid) กรัดซิทรัิกที�ได้จากกลีเซอรัอลซ่�งผลิตจากแบคทีเรัียกลุ่ม Yarrowia
Lipolytica ได้กรัดซิทรัิกป็รัิมาณมาก มีสมบัติไม่แตกต่างจากการัผลิตจากน้�าตาลสารัตั�งต้นหรัืออนุพันธั์
(Papanikolaou, 2002: 737) กรัดซิทรัิกใชี้เป็็นสารัตั�งต้นในอุตสาหกรัรัมเคมีหลายชีนิด เกิดป็ฏิิกิรัิยา
พอลิเมอไรัเซชีันแบบควบแน่นรัะหว่างหมู่คารั์บอกซิลของกรัดซิทรัิกกับหมู่ไฮดรัอกซีในกลีเซอรัอล ได้เทอรั์โมเซต
พอลิเอสเตอรั์ที�คงรัูป็ (thermosetting polyester) มีโครังข่ายเป็็นรั่างแหของพันธัะเอสเตอรั์ พอลิเมอรั์นี�
ย่อยสลายทางชีีวภาพได้ รัาคาถุูก เกิดจากสารัตั�งต้นที�ไม่เป็็นพิษ (Halpern, 2014: 1468) ดังภาพที� ๓