Page 164 - PDF File วารสารราชบัณฑิตยสภา
P. 164

วารสารราชบััณฑิิตยสภา
                                           ปีที� ๔๘ ฉบัับัที� ๒ พัฤษภาคม-สิิงหาคม ๒๕๖๖

               152                                         การพััฒนาและการประยุุกต์์ใช้้พัอลิเมอร์ฐานกลีเซอรอลและไทรกลีเซอไรด์์
























                         ภาพัที� ๓ แผนภาพการัสังเครัาะห์พอลิเอสเตอรั์จากกรัดซิทรัิกและกลีเซอรัอล เมื�อเส้นป็รัะ ----
                                 แสดงโครังข่ายที�เชีื�อมเป็็นรั่างแห (ดัดแป็ลงจาก Halpern, 2014: 1470)



                      (ค)  กรัดซักซินิก (succinic acid) กรัดซักซินิกเป็็นกรัดที�มีหมู่คารั์บอกซิลิกสองหมู่ (dicarboxylic
              acid) ใชี้กรัดซักซินิกเป็็นสารัตั�งต้นในอุตสาหกรัรัมการัผลิตเรัซินพอลิเมอรั์ที�ย่อยสลายได้ตามธัรัรัมชีาติ

              กรัดซักซินิกเกิดได้ตามธัรัรัมชีาติในวัฏิจักรัของกรัดไทรัคารั์บอกซิลิก และเกิดจากกรัะบวนการัหมักใน
              กลีเซอรัอลดิบโดยแบคทีเรัียกลุ่มที�เจรัิญในสภาวะไรั้อากาศั (anaerobic bacteria) เชี่น Anaerobiospirillum

              succiniciproducens ได้รั้อยละของกรัดซักซินิกสูง (Lee, 2001: 41) กรัะบวนการัแป็รัสภาพทางชีีวภาพ
              (biotransformation)  เมื�อใชี้กลีเซอรัอลดิบเป็็นสารัตั�งต้นนั�น  พบว่า  แบคทีเรัียสายพันธัุ์  Basfia

              succiniciproducens DD1 สามารัถุผลิตกรัดซักซินิกได้ (Scholten, 2009: 1947) ซ่�งวิธัีการันี�มีความเสถุียรั
              รัาคาน่าสนใจ และไม่มีการัป็นเป็้�อนของแบคทีเรัียก่อโรัค

                      (ง)  พอลิไฮดรัอกซีแอลคาโนเอต (polyhydroxyalkanoates) หรัือ PHAs) เป็็นพอลิเอสเตอรั์เชีิง
              ป็รัะกอบที�เกิดจากการัสังเครัาะห์ตามธัรัรัมชีาติโดยแบคทีเรัีย ทำหน้าที�เป็็นแหล่งพลังงานเคมีสำรัองในเซลล์

              ของแบคทีเรัีย รัวมทั�งเกิดจากเป็ลี�ยนรัูป็โดยจุลินทรัีย์ในกรัะบวนการัหมักน้�าตาลหรัือไขมัน น ำพอลิไฮดรัอกซี
              แอลคาโนเอตไป็คัดแยก ทำให้บรัิสุทธัิ� และพัฒนาเป็็นพอลิเมอรั์ชีีวภาพต่อไป็ เพื�อทดแทนพอลิเมอรั์จาก

              แหล่งเชีื�อเพลิงฟิอสซิล แบคทีเรัียสายพันธัุ์ Alcaligenes eutrophus สามารัถุสังเครัาะห์พอลิไฮดรัอกซีบิวทีเรัต
              [poly(hydroxy butyrate)] หรัือ PHB) ได้จากแอซิทิลโคเอนไซม์เอ (acetyl-CoA) ในเมแทบอลิซ่มรั่วมกับ

              เอนไซม์อื�นได้เป็็นสายโซ่พอลิไฮดรัอกซีบิวทีเรัตได้ผลผลิตถุ่งรั้อยละ ๙๐ เมื�อเทียบกับมวลชีีวภาพของแบคทีเรัีย
              (Lee, 1996: 1) แบคทีเรัียสายพันธัุ์ Paracoccus denitrificans และ Cupriavidus necator JMP 134 ใชี้

              กลีเซอรัอลดิบเป็็นแหล่งคารั์บอน ได้พอลิไฮดรัอกซีบิวทีเรัตที�มีสมบัติไม่แตกต่างจากการัผลิตโดยใชี้กลูโคส
              เป็็นสารัตั�งต้น แต่ถุ้ากลีเซอรัอลดิบมีป็รัิมาณโซเดียมคลอไรัด์ป็นเป็้�อนมาก จะทำให้พอลิเอสเตอรั์ที�ผลิตได้มี

              ป็รัิมาณน้อยลง (Mothes, 2007: 475) ทั�งนี� การัใชี้แบคทีเรัียเชีื�อผสมที�เหมาะสมจะชี่วยลดป็ัญหาดังกล่าว
              สามารัถุย่อยสลายพอลิไฮดรัอกซีแอลคาโนเอตได้โดยจุลินทรัีย์ในดิน เกิดเป็็นคารั์บอนไดออกไซด์และน้�าเป็็น

              ผลิตภัณฑ์์สุดท้าย
   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168   169